Page 43 - kpi20488
P. 43
42 สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข
กระบอกเสียงให้แก่ประช�ชน ห�กถูกครอบงำ�โดยรัฐ จะทำ�ให้ก�รนำ�เสนอข่�ว
หรือก�รรับรู้ข้อมูลของประช�ชนเป็นไปด้วยวิธีก�รที่ไม่ตรงไปตรงม� สูญเสีย
คว�มเป็นอิสระ ในก�รทำ�หน้�ที่เปิดเผยหรือก�รตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับ
ก�รดำ�เนินก�รต่�งๆ ของรัฐ
ช่องท�งของรัฐในก�รแทรกแซงสื่อมี 3 ช่องท�ง ได้แก่ 1) เป็นเจ้าของ
สื่อเองโดยตรง เช่น โทรทัศน์และวิทยุ ทำ�ให้ก�รครอบงำ�สื่อของรัฐเป็นไปได้
ค่อนข้�งง่�ย และสื่อโทรทัศน์ส�ม�รถเข้�ถึงคนไทยได้ม�กที่สุด 2) เป็นผู้ให้
สัมปทานสื่อ ในช่องโทรทัศน์และวิทยุ ห�กแต่ปัจจุบันมีก�รประมูล Digital TV
ส่งผลให้อำ�น�จดังกล่�วลดน้อยลง 3) ซื้อสื่อ โดยเฉพ�ะสื่อสิ่งพิมพ์ ซึ่งเป็น
สื่อที่น่�ห่วงที่สุดที่จะถูกครอบงำ�โดยรัฐ เพร�ะเป็นธุรกิจเสรี มีก�รแข่งขันสูง
และอ�จถูกซื้อได้ม�กกว่�สื่ออื่นๆ ประกอบกับรัฐไม่มีธุรกิจนี้เป็นของตนเอง
ง�นวิจัยนี้ยังให้ข้อมูลว่�ในปี พ.ศ. 2556 รัฐใช้เงินงบประม�ณเป็น
ค่�โฆษณ�ถึง 7,985 ล้�นบ�ท หรือคิดเป็นร้อยละ 7 ในก�รประช�สัมพันธ์
ผ่�นสื่อ โดยครึ่งหนึ่งเป็นของรัฐวิส�หกิจ และพบว่�หน่วยง�นร�ชก�รที่ใช้
งบประม�ณก�รประช�สัมพันธ์ม�กที่สุด ได้แก่ สำ�นักน�ยกรัฐมนตรี รองลงม�
คือ กระทรวงอุตส�หกรรม ซึ่งสอดคล้องกับง�นวิจัยของ จริย� คงม� ซึ่งศึกษ�
เรื่อง “ม�ตรก�รป้องกันและแก้ไขปัญห�ก�รแทรกแซง สื่อมวลชนโดยรัฐบ�ล
สรุปภ�พก�รแทรกแซงสื่อของรัฐไว้ดังนี้
1) สาเหตุ
ส�เหตุที่ทำ�ให้รัฐบ�ลทุกสมัยพย�ย�มเข้�ม�แทรกแซงสื่อพบว่�
ต้องก�รใช้สื่อในก�รประช�สัมพันธ์ผลง�นและนโยบ�ยต่�งๆ เพื่อรักษ�
ฐ�นเสียง รวมถึงใช้สื่อเป็นเครื่องมือโน้มน้�วให้ประช�ชนเห็นด้วยกับสิ่งที่
รัฐบ�ลต้องก�ร และป้องกันไม่ให้สื่อกระทำ�ก�รท้�ท�ยอำ�น�จรัฐบ�ล
2) รูปแบบ
รูปแบบหรือวิธีก�รที่รัฐบ�ลไทยใช้ในก�รแทรกแซงสื่อ พบว่�นับตั้งแต่
ประเทศไทยมีก�รเปลี่ยนแปลงก�รปกครองเป็นระบอบประช�ธิปไตยเมื่อปี