Page 47 - kpi20488
P. 47
46 สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข
(4) ก�รที่สื่อโทรทัศน์นำ�เสนอร�ยก�รโดยไม่คำ�นึงถึงจริยธรรมของสื่อ
ที่มีต่อเด็กและเย�วชน ก่อให้เกิดอิทธิพลและส่งผลกระทบในแง่ลบ
ต่อพัฒน�ก�รของเด็กและเย�วชนและนำ�ไปสู่ก�รเกิดปัญห�ต่�งๆ
ต�มม�ในสังคม
(5) ไม่ว่�เวล�จะผ่�นไปกี่สิบปี สื่อโฆษณ�ก็ยังคงมีอิทธิพลต่อก�ร
ตัดสินใจเลือกสินค้�และก�รชักจูงโน้มน้�วท�งด้�นพฤติกรรมและ
ค่�นิยมของเด็กและเย�วชนเป็นอย่�งยิ่ง
(6) สื่อมีก�รนำ�เสนอข้อมูลโฆษณ�โดยไม่คำ�นึงถึงหลักจริยธรรม ว่�ด้วย
ก�รปกป้องเด็กจ�กก�รถูกโน้มน้�วหรือชักจูงโดยรู้เท่�ไม่ถึงก�รณ์
ซึ่งพบได้จ�กโฆษณ�แฝงที่ปร�กฏอยู่ในร�ยก�รต่�งๆ โดยเฉพ�ะ
อย่�งยิ่งในช่วงซิทคอมหรือละครโทรทัศน์ที่ฉ�ยในช่วงเวล�สำ�หรับ
เด็กและเวล�ที่ควรเฝ้�ระวัง
5.2 สื่อเสนอความรุนแรงเป็นตัวอย่างที่ไม่เหมาะสมกับเยาวชน
ธ�ม เชื้อสถ�ปนศิริและคณะ ได้ศึกษ�เรื่องคว�มรุนแรงในละครไทย
ปี พ.ศ. 2551 พบว่� ปมคว�มขัดแย้งที่นำ�ไปสู่คว�มรุนแรงของละครไทยมี 13
รูปแบบ เป็นปมขัดแย้งเรื่องคว�มรักม�กที่สุด รองลงม�คือ คว�มสัมพันธ์
ในครอบครัว คว�มอ�ฆ�ตแค้น ก�รต่อสู้กับผู้มีอิทธิพล คว�มโลภและ
ก�รแย่งชิงสมบัติ ก�รปร�บปร�มย�เสพติด คว�มอิจฉ�ริษย�และก�รแก่งแย่ง
ชิงดีชิงเด่น ก�รฝ่�ฟันอุปสรรค ก�รหลอกลวง ก�รเมืองและก�รแย่งชิงอำ�น�จ
ก�รรังเกียจกีดกัน และก�รมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน ต�มลำ�ดับ และ
คว�มรุนแรงที่พบแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1) คว�มรุนแรงท�ง
ก�ยภ�พ ได้แก่ คว�มรุนแรงต่อร่�งก�ย คว�มรุนแรงท�งจิตใจด้วยว�จ�
ก�รกักขังหน่วงเหนี่ยว คว�มรุนแรงต่อวัตถุ ได้แก่ ก�รทำ�ล�ย ก�รแก่งแย่ง
และคว�มรุนแรงท�งเพศ 2) คว�มรุนแรงเชิงโครงสร้�ง แบ่งเป็น 4 ประเภท
ได้แก่ คว�มรุนแรงเชิงโครงสร้�งท�งสังคม อันเกิดจ�กคว�มไม่เท่�เทียมกัน
ท�งชนชั้น อ�ชีพ และช�ติพันธุ์ คว�มรุนแรงเชิงโครงสร้�งท�งเศรษฐกิจ
ที่ส่งผลให้ข�ดคุณภ�พชีวิต ก�รศึกษ� และก�รรักษ�พย�บ�ล คว�มรุนแรง