Page 46 - kpi20488
P. 46
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 45
ทำ�ให้บทบ�ทและหน้�ที่ของสื่อ (เพื่อ) มวลชนถูกลดทอน และแฝงเร้นก�รเป็น
“สื่อธุรกิจ”
Consumption คือ ก�รเพิ่มขึ้นของก�รบริโภคสินค้�เหล่�นี้ เมื่อผู้บริโภค
มองว่� สินค้�อบ�ยมุขที่นำ�เสนอผ่�นสื่อต่�งๆ เป็นเรื่องที่ดี วัฒนธรรมก�รดื่ม
เหล้�ระหว่�งก�รเชียร์ฟุตบอลกล�ยเป็นรูปแบบหนึ่งของก�รพักผ่อนหย่อนใจ
อบ�ยมุขจึงกล�ยเป็นเรื่องที่ถูกที่ควร ขณะเดียวกันด้วยเทคโนโลยีทำ�ให้ผู้บริโภค
ห�ซื้อสินค้�เหล่�นี้ได้ง่�ย จ�กก�รนำ�เสนอผ่�นสื่อออนไลน์ ทั้งเว็บไซต์ก�รพนัน
ท�ยผลฟุตบอล ก�รสั่งซื้อเหล้�ผ่�นท�งเฟซบุ๊ก ไอจี เหล่�นี้ล้วนเป็นตัวกระตุ้น
ให้เกิดนักดื่มและนักพนันหน้�ใหม่ (ที่ม�: Media Monitor 13 มิถุน�ยน 2558,
ผศ.ดร.นิษฐ� หรุ่นเกษม อ�จ�รย์ส�ข�วิช�นิเทศศ�สตร์ คณะวิทย�ก�รจัดก�ร
มห�วิทย�ลัยร�ชภัฏพระนคร)
5) สื่อด้อยคุณภาพไม่สร้างสรรค์ (มุมมองเชิงคุณภาพ)
สื่อไม่สร้�งสรรค์อันเนื่องม�จ�กผู้ผลิตและผู้ใช้สื่อที่ข�ดทักษะและ
คว�มรับผิดชอบ โดยอ�จพิจ�รณ�ดังนี้
5.1 มุมมองด้านจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม
มูลนิธิสื่อมวลชนศึกษ�ได้ศึกษ�เรื่อง จริยธรรมสื่อโทรทัศน์กับผลกระทบ
ต่อพัฒน�ก�รของเด็ก: ศึกษ�เปรียบเทียบโทรทัศน์ดิจิทัลช่องที่ได้รับคว�มนิยม
ช่วงเดือนตุล�คม พ.ศ. 2557 ถึง มกร�คม พ.ศ. 2558 ผลก�รศึกษ�พบว่�
(1) ข้อมูลที่ได้จ�กสื่อโทรทัศน์มีอิทธิพลอย่�งยิ่งต่อก�รสร้�งทัศนคติ
หรือคว�มเชื่อ และนำ�ไปสู่ก�รเลียนแบบ โดยเชื่อว่�พฤติกรรมนั้น
คือสิ่งที่เหม�ะสมและยอมรับได้ในสังคม
(2) สื่อที่นำ�เสนอภ�พและเรื่องร�วรุนแรงและทำ�ให้เกิดคว�มรู้สึกใน
เชิงลบ ส่งผลให้ผู้รับส�รเกิดคว�มชินช�ต่อคว�มรุนแรง คว�มเจ็บปวด
ทำ�ให้สูญเสียคว�มรู้สึกผิดชอบชั่วดีและก�รเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
(3) สื่อส�ม�รถส่งผลกระทบต่อระบบร่�งก�ยอย่�งอัตโนมัติ ซึ่งจะ
กระตุ้นให้บุคคลไม่ส�ม�รถควบคุมก�รแสดงออกท�งร่�งก�ย