Page 38 - kpi20488
P. 38
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 37
ร�ยก�รโทรทัศน์และวิทยุ มีก�รนำ�เสนอ สะท้อนมุมมอง และคุณค่�ที่สังคม
ให้คว�มสำ�คัญในช่วงเวล�ต่�งๆ ผ่�นร�ยก�รละครและบทเพลง สื่อลักษณะนี้
แทรกตัวอยู่ในคว�มคิดและวิถีก�รดำ�เนินชีวิตของผู้คนในสังคมโดยไม่รู้ตัว
สิ่งเหล่�นี้มีบทบ�ทในก�รกำ�หนดคุณค่�และคว�มหม�ยของสังคม
2.2 สภาพปัญหาที่ส่งผลมาจากสื่อ
ไม่สร้างสรรค์
1) สื่อเลือกข้างไม่เป็นกลาง
ก�รเลือกข้�งของสื่อเพื่อสร้�งคว�มชอบธรรมให้กับฝ่�ยใดฝ่�ยหนึ่ง
ทำ�ให้สื่อเลือกใช้วิธีก�รนำาเสนอข่าวสารเพียงด้านเดียว นำ�เสนอแต่ภ�พและ
ข้อมูลข่�วส�รเชิงบวกของฝ่�ยที่ตนให้ก�รสนับสนุน และนำ�เสนอภ�พและ
ข้อมูลข่�วส�รเชิงลบสำ�หรับฝ่�ยตรงข้�มที่ทำ�ให้เกิดคว�มกลัว คว�มทุกข์
คว�มเกลียดชัง จนนำ�ไปสู่ก�รใช้คว�มรุนแรง และในท�งกลับกัน ผลจ�กก�ร
นำ�เสนอข่�วคว�มรุนแรง อ�จนำ�ไปสู่ก�รเรียกร้องที่รุนแรงขึ้น
แม้คนที่อยู่ในวงก�รสื่อยังมีคำ�ถ�มต่อคว�มเป็นกล�งของสื่อด้วยกันเอง
คุณประวิตร โรจนพฤกษ์ อดีตผู้สื่อข่�วหนังสือพิมพ์เดอะเนชั่นกล่�วไว้ใน
หนังสือ “สื่อเสรีมีจริงหรือ: บทเรียนประช�ธิปไตย และวัฒนธรรมสื่อไทย” ว่�
“นักข่�วไทยยังไม่มีเสรีภ�พที่แท้จริง สื่อไทยจำ�นวนม�กไม่เค�รพคว�มหล�กหล�ย
ท�งคว�มคิด ซึ่งสังเกตได้ว่� เวล�หนังสือพิมพ์ฉบับใดเชียร์พรรคใดพรรคหนึ่ง
ก็มักจะเชียร์กันอย่�งสุดๆ และเร�แทบจะมองไม่เห็นคว�มหล�กหล�ยท�ง
คว�มคิดภ�ยในหนังสือพิมพ์แต่ละฉบับ ซึ่งสื่อต่�งๆ ไม่ส�ม�รถที่จะสะท้อน
ภ�พของคว�มเค�รพคว�มหล�กหล�ยท�งคว�มคิด และทำ�ให้สังคมตระหนัก
ถึงคุณค่�ของมันในแง่มุมต่�งๆ” (ที่ม�: บทบ�ท และหน้�ที่ของสื่อในภ�วะ
ก�รเมืองขัดแย้งไทยพีบีเอส) ตัวอย่�งของสื่อในลักษณะนี้ ได้แก่ BlueSky TV,
Voice TV และเครือผู้จัดก�ร ที่เน้นก�รนำ�เสนอข่�วส�รฝ่�ยตนเองเป็นสำ�คัญ