Page 36 - kpi20488
P. 36
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 35
2. บทบาทและปัญหาการนำาเสนอเนื้อหา
ของสื่อ
2.1 บทบาทของสื่อต่อสังคม
1) ก�รสื่อส�รแห่งรัฐกับประช�ชน นอกจ�กหน่วยร�ชก�รต่�งๆ จะมี
กองง�นด้�นประช�สัมพันธ์ เพื่อเผยแพร่ข่�วส�รของหน่วยง�นแล้ว สิ่งที่คนใน
สังคมไทยทุกวันนี้คุ้นชินอยู่ คือ “ร�ยก�รน�ยกฯ พบประช�ชน” ที่ออกอ�ก�ศ
ทุกเย็นวันศุกร์หลังข่�ว ถือเป็นช่องท�งสำ�คัญในก�รบอกเล่�คว�มก้�วหน้�
ในก�รดำ�เนินง�นของรัฐบ�ลกับประช�ชน นอกจ�กร�ยก�รน�ยกฯ
พบประช�ชนแล้ว ยังมีสื่อที่รัฐบ�ลในปัจจุบันใช้เพื่อสร้�งอ�รมณ์ และ
คว�มรู้สึกร่วมในก�รปฏิรูปประเทศร่วมกัน เพื่อสร้�งคว�มเป็นหนึ่งเดียว
ผ่�นบทเพลงคืนคว�มสุขให้ประเทศไทย คว�มหวังคว�มศรัทธ� และเพลง
เพร�ะเธอคือประเทศไทย จะเห็นได้ว่� รัฐบ�ลทุกยุคทุกสมัยได้ใช้ช่องท�งสื่อ
ในก�รสื่อส�รสร้�งก�รรับรู้และเป็นหนึ่งเดียวของคนในช�ติ
พื้นที่การแสดงความคิดทางการเมืองและประชาธิปไตย
ในอดีตที่ผ่�นม� ก�รแสดงคว�มเห็นด้�นก�รเมืองและประช�ธิปไตย
มักใช้วิธีก�รคัดลอกบทคว�มของผู้นำ�ท�งคว�มคิดหล�ยยุคหล�ยสมัยม�
ตีพิมพ์เป็นแผ่นพับ ใบปลิว จนถึงปัจจุบันกล�ยเป็นข้อคว�มที่ส่งต่อกันท�งไลน์
และโซเชียลเน็ตเวิร์ค ส่วนหนังสือพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ยังคงเป็นพื้นที่
ในก�รแสดงคว�มคิดเห็นท�งก�รเมืองม�อย่�งต่อเนื่องย�วน�น ดังจะเห็นได้
จ�กเหตุก�รณ์ 16 ตุล�คม พ.ศ. 2516 และเหตุก�รณ์พฤษภ�ทมิฬ พ.ศ. 2535
ที่สื่อมีบทบ�ทในก�รพลิกโฉมก�รเมืองของประเทศ พัฒนาการของสื่อใหม่
ทำาให้บทบาทของสื่อในการเป็นพื้นที่แสดงความคิดเห็นของคนในสังคม
กลายเป็นพื้นที่ที่สำาคัญเป็นอย่างมากอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน มีก�ร