Page 34 - kpi20488
P. 34
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 33
ทั้งนี้ส�เหตุที่ทำ�ให้มีก�รใช้อินเทอร์เน็ตม�กขึ้น นิตยส�ร E-Commerce
ระบุว่�ม�จ�กหล�ยปัจจัย อ�ทิ โทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทสม�ร์ทโฟนมี
ก�รพัฒน�ม�รองรับบริก�รอินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่ ซึ่งตอบสนองคว�มต้องก�ร
ของผู้ใช้ในก�รเข้�ถึงอินเทอร์เน็ตทุกที่ทุกเวล� แนวโน้มร�ค�ที่ลดลงอย่�ง
ต่อเนื่องสำ�หรับอุปกรณ์ที่รองรับก�รใช้ง�นอินเทอร์เน็ตคว�มเร็วสูง เช่น
Notebook, Netbook, Router และ Air Card เป็นต้น รวมทั้งอุปกรณ์ (Gadget)
รูปแบบใหม่ๆ ที่ทยอยออกม�สร้�งกระแสก�รตื่นตัวท�งก�รตล�ด ก�รใช้ง�น
แอปพลิเคชัน (Application) ใหม่ๆ ตั้งแต่ก�รเปิดตัวของ iPad เป็นต้นม� และ
ที่สำ�คัญที่สุด คว�มนิยมในก�รใช้ง�นโซเชียลมีเดีย (Social Media) มีเพิ่มขึ้น
อย่�งต่อเนื่อง ซึ่งกล่�วกันว่� โซเชียลมีเดียได้กล�ยเป็นสิ่งที่เรียกว่� “ข�ดไม่ได้”
สำ�หรับคนรุ่นใหม่
จ�กร�ยง�น Digital in 2016 ซึ่งจัดทำ�ขึ้นในเดือนมกร�คม พ.ศ. 2559
โดย We Are Social ดิจิทัลเอเจนซี่ชื่อดังในสิงคโปร์ พบว่� มีผู้ใช้ง�นโซเชียล
มีเดียในไทย (Active Social Media Users) สูงถึง 38 ล้�นคน หรือคิดเป็น
ร้อยละ 56 ของประช�กรไทย นอกจ�กนี้ ผลก�รสำ�รวจของ allfacebook.com
พบว่� กลุ่มอ�ยุที่ใช้โซเชียลมีเดียม�กที่สุด ได้แก่ ช่วงอ�ยุ 18-25 ปี รองลงม�
ได้แก่ 26-34 ปี ซึ่งเพศหญิงใช้ง�นม�กกว่�เพศช�ย และจ�กก�รสำ�รวจชนิด
ของโซเชียลมีเดียที่คนไทยนิยมใช้ โดย We Are Social ในร�ยง�น Digital
in 2016 ในเดือนมกร�คม พ.ศ. 2559 พบว่� คนไทยนิยมใช้ Facebook,
Line และ Facebook Messenger ม�กที่สุดใน 3 อันดับแรก ถึงร้อยละ 32
ร้อยละ 29 และร้อยละ 28 ต�มลำ�ดับ