Page 54 - kpi20488
P. 54

สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข  53






                 4. ผลกระทบของสื่อที่มีต่อประชาชน

                       ห�กจำ�แนกผลกระทบของสื่ออ�จแบ่งออกได้เป็น 2 ระดับ ดังนี้



                       4.1 ผลกระทบของสื่อที่มีต่อเด็กและเยาวชน

                       จ�กก�รทบทวนวรรณกรรมพบว่�  มีง�นวิจัยหล�ยชิ้นที่ระบุถึง
                 ก�รนำ�เสนอเนื้อห�ของสื่อว่�มีผลกระทบทั้งในด้�นบวกและลบต่อเด็กและ
                 เย�วชน ซึ่งจ�กทฤษฎีก�รเรียนรู้ท�งสังคม (Social Learning Theory) Bandura
                 Bandura (1986, Marianne Dainton and Elaine D. Zelley, 2005) ได้ศึกษ�
                 พบว่� เด็กมักเรียนรู้จ�กก�รรับชมสิ่งที่สื่อมวลชนนำ�เสนอซ้ำ�ๆ บ่อยครั้ง

                 โดยสื่อมวลชนมีพลังอำ�น�จที่ส�ม�รถโน้มน้�วให้ผู้คนเกิดก�รเปลี่ยนแปลงได้
                 ทั้งระดับคว�มเข้�ใจ (Understanding) คว�มคิด/อ�รมณ์คว�มรู้สึก (Attitude/
                 Affection) ไปจนกระทั่งก่อให้เกิดก�รเปลี่ยนแปลงระดับพฤติกรรม (Behavior/
                 Performance) ได้ โดยยิ่งเปิดรับสื่อม�กเท่�ใด โอก�สที่จะได้รับผลกระทบจ�ก
                 สื่อก็ยิ่งมีม�กขึ้น ดังเช่นทฤษฎีก�รอบรมบ่มเพ�ะ (Cultivation Theory) George
                 Gerbner (อ้�งถึงใน Michael Morgan, James Shanahan, Nancy Signorielli,
                 2009) ระบุว่� เนื้อห�ในร�ยก�รโทรทัศน์มีผลต่อก�รเห็น/รับรู้ “คว�มเป็นจริง
                 ท�งสังคม” (Social Reality) ห�กมีก�รเปิดรับสื่อโทรทัศน์ม�กเท่�ไร (Heavy
                 Viewing) ก็จะยิ่งซึมซับโลกของคว�มเป็นจริง ในแบบที่ร�ยก�รโทรทัศน์ถ่�ยทอด
                 ออกม� ดังเช่นร�ยง�นของหน่วยง�น FBI ระบุว่� ในแต่ละปีมีผู้ตกเป็นเหยื่อ
                 ของอ�ชญ�กรรมเพียงไม่ถึงร้อยละ 1 ของประช�กรทั้งหมด แต่ก�รนำ�เสนอ

                 ของร�ยก�รโทรทัศน์กลับสร้�งก�รรับรู้ที่เกินกว่�คว�มจริง ทำ�ให้ผู้ชมรู้สึกว่�มี
                 เหตุอ�ชญ�กรรมเกิดขึ้นรอบตัวพวกเข�ม�กม�ยในแต่ละสัปด�ห์ นอกจ�กนี้
                 ยังมีคว�มเชื่อเกี่ยวกับก�รก่ออ�ชญ�กรรมและก�รบังคับใช้กฎหม�ยที่
                 คล�ดเคลื่อนไปจ�กคว�มเป็นจริง
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59