Page 64 - kpi19910
P. 64

54






                      ปัจจัยที่จะสนับสนุนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง คือ
                               1. การมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาเพื่อการด ารงชีวิต

                               2. การประกอบอาชีพในอนาคต

                      ผลกระทบที่เกิดขึ้น :
                               โครงการฯ ไม่เปิดโอกาสให้ชาวบ้านได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาแสดงความคิดเห็น/ร่วม

                      ตัดสินใจใด ๆ เนื่องจากโครงการถูกก าหนดเบ็ดเสร็จมาแล้วส่วนกลาง

                      ที่มาของข้อมูล :
                               1. สัมภาษณ์ตัวแทนชาวบ้านในพื้นที่

                                  2. ประชาไท “เปิดปมทุกข์จาก "โครงการพัฒนาลุ่มน้ าปากพนัง" เมื่อวันที่ มีนาคม 2548
                      จาก https://prachatai.com/journal/2005/03/3063
                               3. ถอดบทเรียน การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในลุ่มน้ าปากพนังสู่การจัดการความขัดแย้งใน
                      ลุ่มน้ าบริเวณอื่น สืบค้นเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2561 จาก  http://prp.trf.or.th/trf-policy-brief/




















                      12. ความคัดแย้งการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

                      พื้นที่ : อ าเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช


                      ประเภทความขัดแย้ง : ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ที่ดินท ากิน)


                      ระดับการรับรู้ของสังคม :  ระดับชาติ ผ่านการเผลแพร่สื่อทางสังคมมากมาย วิทยุ โทรทัศน์
                      youtube รวมถึงเอกสารทางวิชาการ เช่น งานวิจัย


                      ประเด็นขัดแย้ง :
                               มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตั้งอยู่ที่ อ าเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพื้นที่ประมาณ
                      9,000 กว่าไร่ พื้นที่ก่อสร้างมหาวิทยาลัยฯ โดยการเวนคืนพื้นที่เลี้ยงวัว พื้นที่อยู่อาศัย และพื้นที่ส่วน

                      อื่น ๆ ของคนในพื้นที่ การเวนคืนพื้นที่ได้สร้างความขัดแย้งระหว่างประชาชนในพื้นที่กับมหาวิทยาลัย
                      วลัยลักษณ์เป็นอย่างมาก
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69