Page 261 - kpi19903
P. 261

226











                               ควำมเป็นเมือง                             พฤติกรรมกำรเลือกตั้ง


                -ความหนาแน่นของประชากร                              ระบบแบ่งเขต

                -ความหนาแน่นของบ้าน                                 - สัดส่วนการลงคะแนนแต่ละพรรค
                -ความหนาแน่นของสถานที่ราชการและสถานประกอบการ        (พรรคเพื่อไทย, พรรคประชาธิปัตย์,
                -ความหนาแน่นถนน                                     พรรคชาติไทยพัฒนาและพรรคภูมิใจไทย)

                -ความหนาแน่นของจ านวนเตียงในสถานพยาบาล              -สัดส่วนไม่ประสงค์ลงคะแนน
                -ร้อยละการใช้พื้นที่เมือง                           -สัดส่วนไม่ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง

                -ร้อยละของครัวเรือนที่เช่าบ้าน                      ระบบบัญชีรำยชื่อ

                -ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ยที่ได้รับกองทุน  -สัดส่วนการลงคะแนนแต่ละพรรค
                หมู่บ้าน                                            (พรรคเพื่อไทย, พรรคประชาธิปัตย์,
                -ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ยที่ได้รับบัตร 30 บาท   พรรคชาติไทยพัฒนา,พรรคภูมิใจไทย

                -ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ยที่ได้รับบัตร   และ พรรคชาติพัฒนา)
                ประกันสังคม                                         -สัดส่วนไม่ประสงค์ลงคะแนน
                -ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ยที่ได้รับบัตรผู้สูงอายุ   -สัดส่วนไม่ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง

                -รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน
                -ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน
                -ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เคยใช้อินเทอร์เน็ตใน

                รอบ 12 เดือนที่แล้ว





                                                  รูปที่ 14.1 กรอบการวิจัย


                       นอกจากนี้ข้อมูลพฤติกรรมการเลือกตั้ง ประกอบด้วย สัดส่วนการลงคะแนนแต่ละพรรค สัดส่วนไม่

               ประสงค์ลงคะแนน และสัดส่วนไม่ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง มาจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง เป็นข้อมูลรายเขต
               เลือกตั้ง การศึกษานี้มีหน่วยวิเคราะห์เป็นเขตเลือกตั้ง ซึ่งมีทั้งหมด เขตเลือ   375กตั้งในปี พ.ศ. ตัวแปร   2554

                  )  ข้างต้นถูกน ามาผ่านการจัดกระท าข้อมูลData manipulation) ให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial

               Data) รายเขตเลือกตั้ง เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการศึกษา
   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266