Page 256 - kpi19903
P. 256

221



                     14.3.1 ความเป็นเมือง: ค้านิยามและการวัดความเป็นเมือง
                     ปัจจุบันการพัฒนาเป็นเมืองและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างชุมชนก าลังขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจาก

               การสื่อสารไร้พรมแดน การพัฒนาความเป็นเมืองอาจมาจากปัจจัยภายในของเมือง เช่นความสามารถในการ

               เป็นศูนย์กลาง ความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและความเหมาะสมในการตั้งถิ่นฐาน ในทางเดียวกันการ
               พัฒนาความเป็นเมืองก็มาจากปัจจัยภายนอกเช่นสิ่งอ านวยความสะดวกในการขนส่ง แผนพัฒนาของรัฐบาล

               และอิทธิพลของเมืองขนาดใหญ่ที่มีผลต่อเมืองขนาดเล็ก (Vermeiren, Rompaey, Loopmans, Serwajja, &

               Mukwaya,  2012(   โดยทั่วไปการวัดความเป็นเมืองมีเงื่อนไข  ประการ ประกอบด้วย )  4   1) เขตแดนทาง
                                                                                                     2  (
               การเมืองซึ่งก าหนดโดยกฎหมาย เช่น ขอบเขตเทศบาล (จ านวนประชากรหรือความหนาแน่นของประช ากร
                                                                  3  (
                                                                                              4  (
               (ความสมบูรณ์ของโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอ านวยความสะด วกในเมืองและ (เปอร์เซ็นต์ของ กิจกรรมทาง
               เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในเมืองเช่น น้อยกว่า  ของกิจกรรมการเกษตร    % 25(Chauvin, Glaeser, Ma, & Tobio,
               2017)

                     UNCHS หรือ HABITAT จัดท าดัชนีวัดการพัฒนาเมือง (City Development Index: CDI) เพื่อเป็น

               เกณฑ์มาตรฐานส าหรับการเปรียบเทียบและจัดล าดับการพัฒนาประเทศ  โดยใช้เทคนิคทางสถิติ Principle
               Component Analysis ( PCA) จัดกลุ่มตัวแปรที่เกี่ยวข้องออกเป็นตัวชี้วัดย่อย ด้านคือ ด้านสาธารณูปโภค ,
                                                                                                        5
               ด้านการจัดการของเสีย,ด้านสุขภาพ,ด้านการศึกษา และด้านผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศ (United Nations

               Centre for Human Settlements [Habitat], 2001)
                     ในการศึกษาการจัดประเภทการตั้งถิ่นฐานของเมืองและชนบทรูปแบบใหม่ ในประเทศอียิปต์ ใช้เทคนิค

               PCA ตามมาตรฐาน OECD เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดความเป็นเมือง (comprehensive urbanization level index:

               CULI)   (Organisation For Economic Co-Operation And  Development, 2008)  ตัวชี้วัด  CULI
                                                                        4
               ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย กลุ่ม คือ กลุ่มการขยายตัวเชิงพื้นที่ กลุ่ม เศรษฐกิจ กลุ่มบริการภาครัฐ และกลุ่ม
               สังคม นอกจากนี้ยังได้ศึกษาสหสัมพันธ์เชิงพื้นที่ (Spatial Autocorrelation) จากตัวชี้วัดดังกล่าว ผลปรากฏ

               ว่า พื้นที่ที่มีการตั้งถิ่นฐานสูง จะเกาะกลุ่มกันในเมืองหลักของแต่ละเขตการปกครอง (Mehaina et al., 2016)
                     การพัฒนาตัวชี้วัดความเป็นเมืองมีส าคัญเพราะน าไปใช้วิเคราะห์และวางแผนพัฒนาเมืองและเศรษฐกิจ

               เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการที่ดี เช่น การปรับค่าแรงขั้นต่ าของกระทรวงแรงงาน การจัดสรรทรัพยากรเพื่อ

               โรงพยาบาลและการดูแลสุขภาพโดยกระทรวงสาธารณสุข รวมไปถึงการก่อสร้างถนนและโครงสร้างพื้นฐาน
               โดยกรมทางหลวง (ศ. ส านักงานสถิติแห่งชาติ, 2559) ตัวชี้วัดที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการวัดความเป็นเมือง

               คือความหนาแน่นของประชากรที่สันนิษฐานว่าเมื่อความหนาแน่นของประชากรเพิ่มขึ้น การรวมกลุ่มของ

               สินค้าและบริการจะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย นอกจากนี้ความเป็นเมืองยังมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงสังคม จาก
               การศึกษาความเป็นเมืองของชุมชนโดยรอบ มหาวิทยาลัยพะเยา พบว่านอกจากเศรษฐกิจและการบริหารการ

               ปกครองจะมีผลต่อการกลายเป็นเมืองแล้ว  ความเป็นเมืองด้านสังคม เช่น ประชากรและ วิถีชีวิต ก็เป็นตัวชี้วัด

               ความเป็นเมืองที่ส าคัญเช่นกัน (ฉัตรทิพย์ ชัยฉกรรจ์ et al.,  2560(
   251   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261