Page 254 - kpi19903
P. 254
219
14.2 Abstract
Urbanization, Regionalism, and Voting Behavior in Thailand:
Spatial Regression Model
Arnond Sakworawich, Ph.D.
46
47
Sutthasinee Lampasri
There are few evidences on the relationship between political geography and election.
This study aims at exploring the relationship between urbanization and latest voting behavior
( 2011) in Thailand using spatial error regression analysis. Urbanization index has been
constructed by principal component analysis, and three components are revealed, namely
urban density index (UDI), urban social welfare index (USWI) and urban economic index (UEI).
Vote share is gathered from Election Commission of Thailand. Spatial autocorrelation and
regression model were applied with contiguity matrix.
UDI, USWI and UEI negatively relate to Pheuthai party voting proportion and vice versa
for Democrat Party. Urbanization index positively relates with both vote No and no vote, while
negatively correlates with voided ballot percentage. Pheuthai Party dominates northeastern
region, while Democrat party occupies southern region.
Keywords: Urbanization, Regionalism, Voting behavior, Spatial regression
14.3 บทน ำ
ความเป็นเมืองเกิดขึ้นเมื่อชนบทได้รับอิทธิพลจากสังคมเมืองในด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยี วัฒนธรรมรวม
ไปถึงระบบสาธารณูปโภค ผ่านทางการติดต่อสื่อสาร หรือนโยบายแผนพัฒนาเมือง ส่งผลให้รูปแบบพื้นที่หรือ
ความคิดของคนชนบทเปลี่ยนไปจากเดิม ปัจจุบันเสรีนิยมแบบเมือง (Urban Liberalism) เริ่มมีอิทธิพลกับคน
รุ่นใหม่ในชนบทมากขึ้นส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงทางความคิด และพฤติกรรม จนท าให้เกิดความขัดแย้ง
ระหว่างคนชนบทและคนชนบทรุ่นใหม่ที่ได้รับอิทธิพลทางความคิดจากสังคมเมือง (อิทธิพร ข าประเสริฐ,
46 ผู้อ านวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิเคราะห์ธุรกิจและวิทยาการข้อมูล)
อาจารย์ประจ าสาขาวิชาวิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสี่ยง คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒ
นบริหารศาสตร์: ติดต่อผู้เขียนได้ที่ [email protected]
47 นักศึกษาปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิเคราะห์ธุรกิจและการวิจัย) คณะสถิติประยุกต์ สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์