Page 260 - kpi19903
P. 260
225
ทั้งประเทศ ท าให้มีจ านวน สส. 126 คน ถ้าพรรคการเมืองใดได้ภาคนี้เป็นฐานเสียง พรรคการเมืองนั้นจะมี
โอกาสชนะการเลือกตั้ง ภาคนี้จึงถือว่าเป็นฐานเสียงที่ส าคัญของประเทศ เป็นหัวใจแห่งดินแดน (บุญทัน ดอก
ไธสง, 2541) ในขณะที่กรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวงของประเทศไทยโดยเป็นศูนย์กลางทางการจัดการ เศรษฐกิจ
และเทคโนโลยี คนกรุงเทพฯ จึงถูกพิจารณาเป็นฐานนโยบายในทฤษฎีสองนครประชาธิปไตย (เอนก เหล่า
ธรรมทัศน์, 2556) แต่เนื่องจากมีจ านวน สส. น้อยกว่าจึงถือว่าเป็นดินแดนชายขอบ (Rimland) ซึ่งมีอ านาจใน
เชิงภูมิรัฐศาสตร์ของการเลือกตั้งน้อยกว่ามาก
ดังนั้นจึงตั้งสมมติฐานการวิจัย ดังนี้
H5: ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือสัมพันธ์กับสัดส่วนการเลือกพรรคเพื่อไทย
H6: ภาคใต้และกรุงเทพฯ สัมพันธ์กับสัดส่วนการเลือกพรรคประชาธิปัตย์
การศึกษานี้ประกอบด้วยตัวแปรอิสระ 14 ตัวซึ่งสัมพันธ์กับการวัดความเป็นเมือง จากการทบทวน
วรรณกรรมข้างต้นสามารถแบ่งกลุ่มของตัวแปรตามทฤษฎีออกเป็น 2 กลุ่ม ซึ่งมีรายละเอียดดังกรอบการวิจัย
รูปที่ 14.1
14.4 ระเบียบวิธีวิจัย
การศึกษาครั้งนี้ใช้ข้อมูลทุติยภูมิ ปี พ.ศ. จากหน่วยงานภาครัฐในประเทศไทย ความหนาแน่น 2554
/ พ จ านวนประชากร ) ของประชากร ื้นที่รวม) และความหนาแน่นของที่อยู่อาศัย (จ านวนบ้าน / พื้นที่รวม) มา
จากกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย ความหนาแน่นของสถานที่ราชการและสถานประกอบการ (จ านวน
สถานที่ราชการและสถานประกอบการ/ พื้นที่รวม) และความหนาแน่นของถนน (ความยาวรวมของถนน /
พื้นที่ทั้งหมด) มาจากกระทรวงคมนาคม ความหนาแน่นของจ านวนเตียงในสถานพยาบาล (จ านวนเตียงที่ใน
โรงพยาบาล / พื้นที่รวม) มาจากกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละการใช้พื้นที่เมือง (พื้นที่เมือง / พื้นที่ทั้งหมด)
อ้างอิงกรมพัฒนาที่ดิน ร้อยละของครัวเรือนที่เช่าบ้าน ( จ านวนครัวเรือนที่มีสถานภาพเช่า / สถานภาพการ
ครอบครองที่อยู่อาศัยทั้งหมด) ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ยที่ได้รับกองทุนหมู่บ้าน ร้อยละจ านวน
สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ยที่ได้รับบัตร 30 บาท ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ยที่ได้รับบัตรประกันสังคม
ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ยที่ได้รับบัตรผู้สูงอายุ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย
ต่อเดือนต่อครัวเรือน และร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เคยใช้อินเทอร์เน็ตในรอบ เดือนที่แล้ว 12 มา
จากข้อมูลการส ารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-economic status: SES) พ.ศ. 2554
โดยส านักงานสถิติแห่งชาติ