Page 263 - kpi19903
P. 263

228



               14.5 ผลกำรวิจัย


                       ผลการศึกษานี้แบ่งออกเป็น  ส่วน คือ )  2   1) การพัฒนาตัวชี้วัดความเป็นเมือง และ ( 2 ( ศึกษาความ

               สัมพันธ์ระหว่างความเป็นเมือง ความเป็นภูมิภาคนิยม และพฤติกรรมการเลือกตั้ง
                       14.5.1 การพัฒนาตัวชี้วัดความเป็นเมือง

                       สถิติเชิงพรรณนาและสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ใช้วัดความเป็นเมือง ตัวแปร ช่วยให้เข้าใจ   14

                 ลักษณะของข้อมูล มีรายละเอียดดังตารางที่14.1 เมื่อพบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรจึงเข้าสู่การวิเคราะห์มุข
               ส าคัญ  โดยใช้วิธีหมุนแกนแบบ Varimax  ซึ่งได้  2  มุขส าคัญคือ ดัชนีเศรษฐกิจและสังคมของเมือง (USEI)

               และดัชนีความหนาแน่นของเมือง (UDI) ดังตารางที่ 14. 2   USEI และ UDI สามารถอธิบายความแปรปรวนของ

               กลุ่มตัวแปรได้ ร้อยละ  61.43  และ  14.11  ตามล าดับ รวมทั้ง  2  มุขส าคัญสามารถอธิบายความแปรปรวนของ
               ข้อมูลได้ ร้อยละ 75.54

               ตำรำงที่ 14.1 สถิติเชิงพรรณนาและการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ใช้วัดความเป็นเมือง

                     ตัวแปรที่ใช้วัดควำมเป็นเมือง   M   SD   1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  11  12  13

                1 ความหนาแน่นของประชากร      811.73 1979.16
                2 ความหนาแน่นของบ้าน         339.12  843.55  .99
                3 ความหนาแน่นถนน              2.52  5.52  .94  .94
                4 ร้อยละการใช้พื้นที่เมือง    17.10  24.20  .88  .90  .92
                5 ความหนาแน่นของสถานที่ราชการ  7.05  21.60  .91  .90  .83  .75

                  และสถานประกอบการ
                6 ความหนาแน่นของจ านวนเตียงใน  4.63  19.91  .79  .77  .67  .60  .72
                  สถานพยาบาล
                7 ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือน  71.82  14.71  -.54 -.56 -.62 -.74 -.45 -.35

                  เฉลี่ยที่ได้รับบัตร 30 บาท
                8 ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือน  12.06  12.00  .49  .53  .59  .72  .44  .27 -.84
                  เฉลี่ยที่ได้รับบัตรประกันสังคม
                9 ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือน  16.68  6.61  -.38 -.39 -.41 -.50 -.32 -.23 .56 -.56
                  เฉลี่ยที่ได้รับบัตรผู้สูงอายุ
                10 ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือน  7.69  6.64  -.40 -.41 -.44 -.53 -.34 -.26 .65 -.62 .50

                  เฉลี่ยที่ได้รับกองทุนหมู่บ้าน
                11 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน   16947  6282  .56  .57  .63  .65  .43  .39 -.65 .55 -.50 -.54
                12 ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน  14290  4334  .53  .55  .63  .67  .41  .35 -.71 .63 -.55 -.61  .91
                13 ร้อยละจ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่ 19.31  8.50  .46  .46  .47  .54  .33  .32 -.64 .37 -.44 -.43  .58  .62

                  เคยใช้อินเทอร์เน็ตใน 12 เดือนที่
                14 ร้อยละของครัวเรือนที่เช่าบ้าน   26.14  19.22  .54  .56  .55  .67  .53  .40 -.78 .75 -.61 -.69  .48  .53  .46
                  แล้ว
   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267   268