Page 544 - kpi17073
P. 544
การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 16 543
๏ การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม ส่งผลทำให้สัดส่วนของอุตสาหกรรมใน GPP
เพิ่มขึ้น ในช่วงแรกค่าเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 22.7% เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 25.6 %
ในขณะที่สัดส่วนของภาคอุตสาหกรรมลดลงจากร้อยละ 55.8 ในช่วงแรก เหลือร้อยละ
49.9
๏ มีความแตกต่างของความสามารถการผลิต (GPP per capita) อย่างชัดเจน ภาคอีสาน
มี GPP per capita น้อยที่สุดเท่ากับ 19,354 บาทต่อคนในช่วงแรก และเพิ่มขึ้นเป็น
38,407 บาทต่อคนในช่วงที่สอง ในทางตรงกันข้ามภูมิภาคที่ GPP per capita สูงสุด
คือกรุงเทพและปริมณมลฑลมูลค่า GPP per capita เท่ากับ 206,055 บาทต่อคน
ในช่วงแรก ในช่วงหลัง GPP per capita ของภาคตะวันออกแซงหน้ากรุงเทพฯ และ
ปริมณฑลคือเท่ากับ 344,844 บาทต่อคน
๏ ภาคตะวันออก มีระดับ GPP per capita สูงที่สุด
ตารางที่ 2 แสดงสถิติ GPP per capita และอัตราการเติบโตรายภาค
ภูมิภาค Gppcap Growth ประชากร เกษตร อุตสาหกรรม บริการ
1995-1999
อีสาน 19,354 0.037 1.093 0.205 0.137 0.658
เหนือ 31,104 0.050 0.673 0.219 0.180 0.601
ใต้ 62,520 0.017 0.573 0.337 0.128 0.535
ตะวันออก 122,941 0.035 0.495 0.234 0.349 0.417
ตะวันตก 53,324 0.044 0.575 0.176 0.299 0.525
กลาง 75,528 0.037 0.489 0.148 0.372 0.480
กทม. และปริมณฑล 206,255 -0.008 1.671 0.034 0.498 0.468
เฉลี่ย 62,710 0.033 0.797 0.215 0.227 0.558
2007-2011
อีสาน 38,407 0.084 1.193 0.228 0.171 0.601
เหนือ 61,960 0.062 0.713 0.269 0.204 0.526
ใต้ 116,282 0.063 0.661 0.387 0.138 0.476
ตะวันออก 344,844 0.065 0.567 0.233 0.427 0.340
ตะวันตก 100,231 0.037 0.611 0.201 0.340 0.459
กลาง 166,132 0.048 0.505 0.167 0.427 0.407
กทม. และปริมณฑล 343,784 0.038 1.915 0.033 0.471 0.496 การประชุมกลุ่มย่อยที่ 6
เฉลี่ย 129,351 0.063 0.879 0.245 0.256 0.499