Page 263 - kpi16607
P. 263

ดุลอำนาจ   ในการเมืองการปกครองไทย





                          1.  การเพิ่มการมีส่วนร่วมของสตรีในทางการเมือง


                          2.  ส่งเสริมความเข้มแข็งและความตระหนักเรื่องเพศและการยอมรับ

                             ซึ่งเน้นเรื่องฐานะทางการเมืองของบุรุษและสตรี ในฐานะนักการเมือง
                             และข้าราชการ


                          3.  การบริการที่เท่าเทียมในเรื่องความต้องการและผลประโยชน์ โดยต้อง
                             มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และ จัดสรรงบประมาณ เพื่อเสริม
                             สร้างความเสมอภาค 8


                          4.  สร้างความตระหนักถึง “สิทธิสตรี” ในการดำเนินการทางนโยบายและ
                             กิจกรรมต่างๆ


                   การบริหารงานที่มีหุ้นส่วนหลากหลาย



                         รูปแบบสำคัญ 3 ประการของการบริหารแบบผสม  คือ                          2
                                                                    9

                          1.  การบริหารร่วม (Co-governance) ระหว่างองค์กรรัฐและชุมชน

                          2.   หุ้นส่วนระหว่างรัฐ-เอกชน (Public-private partnerships) เป็นการ

                             สร้างหุ้นส่วนระหว่างธุรกิจและองค์กรพัฒนาเอกชนหรือ NGO และ
                             ชุมชน และ


                          3.  การบริหารแบบมีหุ้นส่วนหลากหลาย (เป็นการรวมกลุ่มปฏิบัติต่างๆ
                             มารวมกัน)


                         การร่วมกันเป็นการทำกิจกรรมร่วมที่อย่างน้อย 2 กลุ่มในมุมของ
                   สามเหลี่ยม ซึ่งมาจากหลายกรณีที่นักปฏิบัติมีบทบาทต่างกัน เช่น การกระจาย

                   อำนาจด้านนโยบายสัตว์ป่าและป่าไม้ในประเทศกำลังพัฒนา นำไปซึ่งการจัดการ
                   ป่าไม้ร่วมกันในอินเดีย ที่กรมป่าไม้ทำงานร่วมกับชุมชนในการปรับปรุงการใช้


                   
   8   Sodani  P.R. and S. Sharma. 2008.
                   
   9   Agrawal and Lemos, 2007.




                                                                                   สถาบันพระปกเกล้า
   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267   268