Page 8 - kpiebook67026
P. 8

7







               ข้อจ�ากัดเกี่ยวกับการบังคับใช้สิทธิในการก�าหนดเจตจ�านงของตนเอง ข้อจ�ากัดด้านเวลา

               ในการใช้สิทธิ กระบวนการพิจารณาส�าหรับการยื่นค�าร้องในครั้งที่สองและผลที่เกิดขึ้น
               ผลด้านสังคมและวัฒนธรรม พบว่า การขับเคลื่อนกฎหมาย ส่งผลให้การเปลี่ยนแปลง

               ในมิติของแนวคิดของสังคมโดยรวมที่มีการให้ความส�าคัญกับประโยชนสาธารณะ
               หรือสังคมโดยรวมมากขึ้นกว่า ประโยชนของกลุ่ม ในขณะเดียวกันก็มีข้อกังวลที่เกิดขึ้น

               คือ การบังคับใช้กฎหมายที่แตกต่างกันในแต่ละเมือง และแต่ละภูมิภาค การถูกภาพ
               เหมารวม และมอบหมายบทบาทหน้าที่ให้กับผู้หญิงที่แตกต่าง และไม่เท่าเทียมกับ

               ผู้ชายหรือเพศอื่น ๆ

                      ดังนั้นข้อเสนอแนะ คือ ต้องมีการระบุวัตถุประสงคและขอบเขตการบังคับใช้

               กฎหมายให้มีความชัดเจน กลุ่มบุคคลที่จะอยู่ในบังคับของกฎหมาย ต้องมีการบัญญัติ
               เกี่ยวกับผลในทางกฎหมายของการรับรองเพศสภาพโดยจะต้องครอบคลุมถึงเรื่อง

               ผลของการระบุเพศสภาพในเอกสารทางราชการตลอดจนเอกสารต่าง ๆ ต้องมีการก�าหนด
               มาตรการป้องกันการเลือกปฏิบัติและการส่งเสริมความเสมอภาค การขับเคลื่อน

               เชิงแนวคิด จ�าเป็นต้องตกผลึกและก�าหนดเป้าหมาย กระบวนการ และผลลัพธจาก
               การขับเคลื่อนกฎหมายฉบับนี้ ให้ชัดเจน การศึกษาวิจัย ภาควิชาการและภาคประชาสังคม

               จึงมีส่วนส�าคัญอย่างยิ่งในการท�าหน้าที่ในการศึกษา วิจัย และเสนอแนะต่อการด�าเนินการ
               ต่าง ๆ ของกฎหมายนี้ เพื่อลดข้อติดขัดของการด�าเนินงานตามกฎหมาย





               ค�าส�าคัญ: ผลการใช้กฎหมาย, กฎหมายรับรองเพศสภาพ, อารเจนตินา มอลตา และ

               ไอซแลนด
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13