Page 70 - kpiebook66032
P. 70

ประการสุดท้าย จำนวนผู้เข้าถึงสื่อประชาสัมพันธ์ผ่านระบบ Online สถิติผู้เข้าชม

           Website กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาเพิ่มขึ้น
           จากเดิม 1,000,000 คน ใน พ.ศ. 2563 เป็น 3,800,000 คน ใน พ.ศ. 2564
     ท้องถิ่นในโลกยุควูก้า (VUCA WORLD)   หลังพ้นระยะวิกฤตและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในจังหวัดสงขลา ที่ได้รับประโยชน์จากการการจัดตั้ง
                 ที่สำคัญที่สุด คือ ประชาชนกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ได้แก่ คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย



           ศูนย์ซ่อมสร้างสุขชุมชน มีจำนวนถึง 239,856 คน

           ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ

                 ส่วนผลสำเร็จเชิงคุณภาพที่เกิดจากนวัตกรรมศูนย์ซ่อมสร้างสุขฯ นี้นั้น ทีมวิจัยได้จำแนก

           ออกเป็น 4 ด้านหลัก ได้แก่

                 1)  ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ก็เข้าถึงบริการได้อย่างรวดเร็ว


                   จากการที่คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยหลังพ้นระยะวิกฤติและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในจังหวัด
           สงขลา สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ทำให้เขาเหล่านั้นได้รับ
           กายอุปกรณ์พร้อมใช้ เพื่อเพิ่มความเป็นอิสระในการดำรงชีวิตประจำวัน ลดภาวการณ์พึ่งพิง

           มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นด้วย การซ่อมแซมอุปกรณ์ยังช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยและ
           ครอบครัวในกรณีที่ต้องจัดซื้อกายอุปกรณ์ใหม่ โดยทั้งจังหวัดสงขลา พบว่า มีบุคลากรที่รับซ่อม

           ไม่เกิน 5 คน อยู่ที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และโรงพยาบาลหาดใหญ่ ซึ่งเมื่อผู้ใช้บริการ
           อาศัยอยู่ที่อำเภอสะบ้าย้อยจะไปซ่อมที่ไหน ไม่คุ้มกับค่าน้ำมันรถที่จะเอามาซ่อมแค่นอต
                                                       43
           ตัวเดียวหรือแค่ล้อยางที่จะต้องเปลี่ยนใหม่ เป็นต้น
     ส่วนที่   บันทึกเรื่องเด่น   มีอาชีพ มีรายได้ สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรีและเท่าเทียมกันในสังคม
                 2)  ไม่ใช่แค่ซ่อมกายฯ แต่ซ่อมใจ

                   การที่ผู้พิการได้เข้ามาเป็นเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ซ่อมสร้างสุขชุมชน ช่วยทำให้เขา



           สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายของกลุ่มเป้าหมายและครอบครัว สังคมและประเทศชาติ นอกจากนี้
           ในการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการใหม่ และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม เกิดสังคม

           แห่งการเอื้ออาทร ทำให้สงขลาก้าวสู่เมืองที่เป็นมิตรกับคนพิการ

                   ที่สำคัญ ทีมวิจัยได้รับทราบข้อมูลของเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา

           ที่ระบุว่า การเปิดศูนย์ซ่อมสร้างสุขชุมชน เท่ากับเปิดโลกอีกใบให้ผู้พิการได้มีโอกาสได้ใช้
           ความสามารถของตนเอง จากการสังเกตและพูดคุยกับหลาย ๆ คน ทำให้เห็นความมีชีวิตชีวา


               43   Personal communication, 10 มกราคม 2566.


               สถาบันพระปกเกล้า
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75