Page 68 - kpiebook66032
P. 68
ส่วนที่ 4 ในวันที่ฉันลุกขึ้นยืน..ได้อีกครั้ง
ผลสำเร็จที่เป็นเชิงปริมาณ
ท้องถิ่นในโลกยุควูก้า (VUCA WORLD) กายอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการจังหวัดสงขลามีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยมีจำนวนรวมทั้งสิ้น
ในส่วนของผลที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมของศูนย์ซ่อมสร้างสุขชุมชนแห่งนี้
ประการแรกคือ เครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาระบบบริการสาธารณะด้าน
720 เครือข่าย (พ.ศ.2563 มีจำนวน 179 เครือข่าย พ.ศ.2565 มีจำนวน 541 เครือข่าย)
ประการที่สอง จำนวนศูนย์ซ่อมสร้างสุขชุมชนเพิ่มขึ้น จากพ.ศ.2563 ปัจจุบันมีศูนย์ซ่อม
สร้างสุขชุมชนจำนวนทั้งสิ้น 4 ศูนย์ที่จัดตั้งใน 4 จุด คือ (1) วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ อำเภอ
หาดใหญ่ (2) วิทยาลัยการอาชีพนาทวี อำเภอนาทวี (3) เทศบาลเมืองสะเดา และ (4) องค์การ
บริหารส่วนตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ ซึ่งถือได้ว่าครอบคลุมทั้ง 4 มุมเมือง
“ถ้ามองเชิงปริมาณจะเห็นว่า ศูนย์ฯ เรา เริ่มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ หน่วยงาน
ที่เข้ามาเติมเต็มกลับกลายเป็น อปท. ดังกรณีของเทศบาลเมืองสะเดา โดยจุดเริ่ม
ต้นท่านมาเห็น คือก่อนที่ท่านจะลงนายกเทศมนตรีเมืองสะเดา ท่านประกาศเลย
ว่าถ้าท่านได้รับการเลือกตั้ง นโยบายที่ท่านชูท่านจะจัดตั้งศูนย์ซ่อมสร้างสุขชุมชน
แล้วก็เกิดขึ้นจริง ตอนที่ท่านไม่ได้เป็นนายกฯ แต่ท่านเป็น สจ. แล้วท่านเห็นว่า
โครงการนี้เป็นประโยชน์กับประชาชน พอเปิดศูนย์ฯ ท่านก็ขายไอเดียเลยว่า
จะทำแบบ Delivery จะไปบริการซ่อมในพื้นที่ถึงบ้านเลย”
ส่วนที่ บันทึกเรื่องเด่น ปีละ 160 ชิ้น (พ.ศ.2563 – 2564) ซึ่งจากเดิมไม่มีข้อมูลการซ่อมบำรุงกายอุปกรณ์เครื่องช่วย
ประการที่สาม จำนวนอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการที่ชำรุดได้รับการซ่อมบำรุง เฉลี่ย
ความพิการ ในจังหวัดสงขลา
ประการที่สี่ จำนวนกายอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้บริการหมุนเวียนยืม-คืน
ในระบบ สำหรับคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในจังหวัดสงขลา จากเดิม 9 รายการ
เพิ่มขึ้นเป็น 11 รายการ จำนวน 1,281 ชิ้น
ประการที่ห้า ช่วยลดงบประมาณในการจัดหาจัดซื้อกายอุปกรณ์ลง การเบิกจ่ายเพื่อวัสดุ
ทางการแพทย์ต่อปีลดจำนวนลงอย่างเห็นได้ชัด
2 สถาบันพระปกเกล้า