Page 120 - kpiebook66032
P. 120
“เมื่อดำเนินงานได้มาระยะหนึ่ง หลาย ๆ ฝ่ายเริ่มเห็นว่าโครงการฯ
มันประสบความสำเร็จ ทำให้ผู้บริหารให้ความสนใจกับเรื่องนี้มาขึ้น หน่วยงาน
อื่น ๆ มองเห็นว่าโครงการฯ นี้ดี มีประโยชน์ เขาก็สามารถมาเข้าร่วมทำงานกับ
ท้องถิ่นในโลกยุควูก้า (VUCA WORLD) ส่วนในการดูแลพื้นที่ของตนเอง ซึ่งเครือข่ายต่าง ๆ ก็ให้ความร่วมมืออย่างดีเมื่อเห็นว่า
เรา และทางเทศบาลเราก็มีเครือข่ายที่ค่อนข้างเข้มแข็ง คอยให้ความร่วมมือ
116
มีจิตอาสา และเรามีการตั้งงบประมาณเพื่อสนับสนุนโครงการนี้ฯ”
เทศบาลได้เชิญชวนให้เครือข่ายต่าง ๆ ได้เข้ามามีบทบาทในโครงการนี้ เพื่อจะได้มี
เป็นประโยชน์ต่อพื้นที่
ในพื้นที่ของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ยังมีกลุ่มต่าง ๆ อีก อาทิ กลุ่มสตรี 35 กลุ่ม
ชมรมผู้สูงอายุ และกลุ่มประชาสังคมที่เป็นเครือข่ายที่เข้มแข็งอยู่แล้ว ทำให้เทศบาลได้อาศัย
เครือข่ายในการทำงาน ซึ่งแต่ละเครือข่ายมีบทบาทที่โดดเด่นของตนเอง ซึ่งช่วยเสริมกัน
ในการทำงานที่มีเป้าหมายเดียวกันได้มากขึ้น ดังในกรณีการปักหมุดเพื่อแชร์ตำแหน่งของ
ผู้รับบริการ ก็ได้อาศัยเครือข่ายต่าง ๆ เช่น สถาบันการศึกษาที่ช่วยเรื่องความรู้ การใช้
เทคโนโลยีที่มีอยู่โดยที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เมื่อแกนนำชุมชนลงพื้นที่และค้นหาประชากร
กลุ่มเป้าหมายและระบุพิกัดแล้ว ทางสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
ก็เข้ามารับไม้ช่วยเหลือต่อไป
สิ่งนี้ส่งผลให้หน่วยงานภายนอกมองเห็นช่องทางในการช่วยเหลือประชาชน ร่วมรับ
ประโยชน์จากโครงการฯ
ส่วนที่ บันทึกเรื่องเด่น เนื่องจากใช้ Google ที่มีอยู่มาเป็นเครื่องมือ การอบรมการปักหมุด เทศบาลก็ได้
“การดำเนินงานเป็นลักษณะของการค่อย ๆ ทำ ไม่มีค่าใช้จ่ายจำนวนมาก
วิทยากรจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มาช่วยอบรมให้
ชาวบ้านเพื่อให้สามารถปักหมุดได้อย่างถูกต้อง ซึ่งค่าใช้จ่ายมีเพียงการจัดอบรม”
117
อีกเครือข่ายหนึ่งที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการนี้ คือ ผู้ประกอบการและภาคเอกชน
ที่ได้มาร่วมช่วยเหลือประชาชนที่เดือนร้อนได้ตรงจุดมากขึ้น
116 Personal communication, 21 มีนาคม 2566.
117 Personal communication, 2 พฤษภาคม 2566.
11 สถาบันพระปกเกล้า