Page 45 - kpiebook66029
P. 45
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพสังคมใหม่ :
คุณภาพสังคมในทัศนะของเยาวชน
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน และการวิเคราะห์จำาแนกพหุ (MCA) ผลวิจัยพบว่าปัจจัยที่มี
อิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานครอย่างมีนัยสำาคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ครอบครัว (F= 3.059, Sig.=.028)เพื่อน(F= 4.724, Sig.=.008)
พรรคการเมือง (F= 13.342, Sig.=.000) โดยมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย คือ 1) มิตินโยบาย
ของสถาบันการศึกษาหรือโรงเรียนควรจัดนโยบายของสถานศึกษาให้มีการจัดการเรียน
การสอนกิจกรรมเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ประเทศไทยและประวัติศาสตร์การเมืองโลกที่เหมาะสม
ควรส่งเสริมให้มีกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ชุมชนและจัดกิจกรรมระหว่างการเรียนการสอน
ให้เยาวชนยึดมั่นต่อความถูกต้องคุณงามความดีมากกว่าผลประโยชน์ส่วนตน นอกจากนี้
การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนควรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดอยู่เสมอ
2) มิตินโยบายของสื่อมวลชน ส่งเสริมนำาเสนอข้อมูลที่คำานึงถึงประโยชน์ต่อสังคม สาธารณะ
มากว่าผลประโยชนของกลุ่มด้วยความถูกต้องเหมาะสม
2-30