Page 89 - kpiebook66013
P. 89
ค�าพิพากษาที่เป็นบรรทัดฐานในการตีความเรื่องหนึ่ง ย่อมส่งผล
ต่อการวางบรรทัดฐานในคดีต่อๆ ไป แต่ความเข้าใจในบทบัญญัติบางเรื่อง
บางประเด็นเป็นเหตุการณ์ปัจจุบันที่การวางแนวค�าพิพากษาจ�าต้องระวังเป็นพิเศษ
ด้วยอาจส่งผลกระทบต่อบริบทแวดล้อมได้ ดังนี้ จึงอาจถือเป็นเรื่องที่วงนิติศาสตร์
แรงงาน ต้องยกขึ้นเป็นเรื่องที่ต้องร่วมหารือ และท�าการศึกษาเพื่อก�าหนดทางออก
ที่ชัดเจนและเป็นประโยชน์ต่อสังคมแรงงานโดยแท้
กลุ่มตัวแปร 1 กลุ่มตัวแปร 2 กลุ่มตัวแปร 3 กลุ่มตัวแปร 4
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
ป.7
น37/ น38/ น38/ น38/
บ25 บ13 บ25 บ09
และ
น37/
บ26
ประเด็นนี้มีค่าความส�าคัญเท่ากับ 7 จากตัวแปร 3 กลุ่ม
ประเด็นที่ 8 การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับ “อ�านาจบังคับบัญชา” กับวิธีการ
จ้างงานสมัยใหม่มุมมองกฎหมายแรงงานไทยในฐานะกฎเกณฑ์ที่ใช้ก�ากับ
มาตรฐานแรงงานในภาคอุตสาหกรรม
แม้ประเด็นปัญหาข้อนี้จะเป็นเรื่องเชิงทฤษฎี แต่ในอีกมุมหนึ่ง
อาจมองได้ว่าเป็นการแสวงหาค�าตอบวิวัฒนาการของกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงไป
กล่าวคือ การมองลักษณะและพฤติการณ์อย่างไรว่าเป็นการบัญชาหรือสั่งการ
อันเกิดจากความสัมพันธ์ในการจ้างแรงงานย่อมท�าให้ผลที่เกิดขึ้นตามมาจาก
นิติสัมพันธ์นั้นอยู่ภายใต้บทบัญญัติว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน หากแปลความว่า
การสั่งการเช่นนั้นเป็นพฤติการณ์อื่นที่ไม่ใช่ทางปฏิบัติของการจ้างแรงงานแล้ว
ก็ย่อมท�าให้ผลแห่งความสัมพันธ์นั้นกลายเป็นเรื่องอื่นที่ไม่อยู่ภายใต้การบังคับใช้
ของกฎหมายแรงงาน นอกจากนี้แล้ว มุมมองที่เห็นว่ากฎหมายแรงงานเป็นกฎเกณฑ์
89