Page 273 - kpiebook65066
P. 273

201






                       ของนักเรียนในสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลก (๓) โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (การพัฒนาทักษะ
                       ในการอานการเขียนภาษาไทย) และ (๔) โครงการแกไขปญหาการอานไมออกเขียนไมไดของเด็กใน
                       เขตพื้นที่ตําบลนาพู ดังรายละเอียดตอไปนี้


                              4.๔.๑ โครงการสงเสริมจัดการเรียนการสอนแนวทาง(ทวิ/พหุภาษา) ที่เนนผูเรียนเปน
                       สําคัญโดยใชภาษาแมเปนฐาน ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก องคการบริหารสวนตําบลทาตอน อําเภอ
                       แมอาย จังหวัดเชียงราย
                                     1) ปญหา ที่มาของปญหา และผลกระทบจากปญหา การจัดการศึกษาปฐมวัยมี

                       ความสําคัญอยางยิ่งในการวางรากฐานทรัพยากรมนุษยที่มีคุณภาพแกสังคมมนุษย ในปจจุบันมี
                       หนวยงานหลายหนวยงานที่ทําหนาที่ในการจัดการศึกษาปฐมวัยแกเด็กวัย ระหวางแรกเกิดถึง 5 ป
                       11 เดือน 29 วัน แตละหนวยงานรับผิดชอบจัดการศึกษาในหลากหลายและมีชื่อเรียกที่แตกตางกัน
                       เชน สถานรับเลี้ยงเด็ก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ศูนยเด็กกอนเกณฑ หรือโรงเรียนอนุบาล  เปนตน ในสวน

                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น กระทรวงมหาดไทยไดกระจายอํานาจใหองคการบริหารสวนตําบล
                       เปนผูรับผิดชอบดําเนินการ โดยถือวาเปนหนาที่ตามบทบัญญัติในมาตรา 16 (9) ของพระราชบัญญัติ
                       กําหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นพ.ศ. 2542 และตาม

                       พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 2 มาตรา 10 การจัดการศึกษาตองจัดให
                       บุคคลมีสิทธิ และโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวา 12 ป ที่รัฐตองจัดใหอยาง
                       ทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย
                                     องคการบริหารสวนตําบลทาตอน เปนตําบลที่อยูเหนือสุดของจังหวัดเชียงใหมที่มี
                       ความหลากหลายของกลุมชาติพันธุ แตละกลุมชาติพันธุมีความแตกตางในการดําเนินชีวิต ภาษา

                       ประเพณี วัฒนธรรม เด็กเล็ก และผูปกครองจะใชภาษาถิ่นของตนเองในการสื่อสารเปนหลัก สงผลให
                       เด็กเล็กที่ไมไดพูดภาษาไทยที่เปนภาษาแม ตองเผชิญปญหาในการเรียนหลายประการ เชน การไม
                       เขาใจภาษาที่ครูใชสื่อสารกับเด็กเล็ก ฯลฯ และเด็กสวนใหญที่พบ มักอาศัยอยูกับผูปกครองที่เปน

                       ปู ยา ตา ยาย ซึ่งมีอายุมาก ที่ไมสามารถสื่อสารภาษาไทยได ทําใหดูแลเด็กเล็กไดไมดีเทาที่ควร และ
                       การสื่อสารใชภาษาของกลุมชาติพันธุ อันจะสงผลตอการจัดการศึกษาระดับที่สูงในอนาคตตอไป
                                     ที่มาของปญหาคือ (1) ครอบครัวมีความหลากหลายของกลุมชาติพันธุ มีความ
                       แตกตางในการดําเนินชีวิต ภาษา ประเพณี วัฒนธรรม และ (2) เด็กสวนใหญที่พบ มักอาศัยอยูกับ

                       ผูปกครองที่เปน ปู ยา ตา ยาย ซึ่งมีอายุมาก ที่ไมสามารถสื่อสารภาษาไทยได ทําใหดูแลเด็กเล็กไมดี
                       เทาที่ควร
                                     จากปญหาดังกลาวทําใหเกิดผลกระทบ คือ เด็กเล็กที่อยูในศูนยพัฒนาเด็กเล็กที่
                       ไมไดพูดภาษาไทยที่เปนภาษาแม ไมสามารถสื่อสารภาษาไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลตอ

                       การจัดการศึกษาระดับที่สูงในอนาคตตอไป
                                     2) วิธีการแกไขปญหาที่ได วิธีการแกไขปญหาที่ได คือ คนหา ปรับหลักสูตรการ
                       เรียนการสอนแบบใหมโดยการเลือกใชจัดการเรียนการสอนแนวทาง (ทวิ/พหุภาษา) ที่เนนผูเรียนเปน
                       สําคัญโดยใชภาษาแมเปนฐาน สาเหตุที่เลือกวิธีการแกไขปญหานี้เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนใน

                       ระดับปฐมวัยเด็กเล็กมีความคุนเคยภาษาแม (ภาษาของกลุมชาติพันธุ) มีความมั่นใจในการสื่อสาร
   268   269   270   271   272   273   274   275   276   277   278