Page 145 - kpiebook65066
P. 145

73






                                                            บทที่ ๓
                              บริบททั่วไป และสภาพปญหาดานความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา

                                         ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในระยะที่ 2



                              จากการดําเนินการรับสมัคร และคัดเลือกองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการใน
                       ระยะที่ 2 โครงการวิจัยขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําทางดาน
                       การศึกษา ภายใตโครงการวิจัยเพื่อพัฒนา และขับเคลื่อนการบริการสาธารณะขององคกรปกครอง

                       สวนทองถิ่น ไดมีองคกรปกครองสวนทองถิ่นเขารวมโครงการจํานวน 13 แหง ไดแก (1) องคการ
                       บริหารสวนตําบลทาตอน (2) องคการบริหารสวนตําบลวอแกว (3) องคการบริหารสวนตําบลตาตุม
                       (4) องคการบริหารสวนตําบลนาพู (5) เทศบาลตําบลเสิงสาง (6) เทศบาลเมืองทุงสง (7) เทศบาล
                       เมืองลอมแรด (8) เทศบาลเมืองวิเชียรบุรี (9) เทศบาลเมืองศรีสะเกษ (10) เทศบาลนครพิษณุโลก

                       (11) เทศบาลนครภูเก็ต (12) เทศบาลนครสกลนคร และ (13) องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ
                       ซึ่งแตละแหงมีบริบทดานพื้นที่ บริบทดานองคกร บริบทดานการศึกษา และบริบทดานความเหลื่อมล้ํา
                       ทางการศึกษา ดังตอไปนี้


                       ๓.1 องคการบริหารสวนตําบลทาตอน

                              องคการบริหารสวนตําบลทาตอน ตั้งอยูในเขตอําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม สํานักงาน
                       ตั้งอยูเลขที่ 559 หมูที่ 3 บานทาตอน อําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม ทิศเหนือติดตอกับประเทศ

                       เมียนมา ทิศใตติดตอกับตําบลแมนาวาง อําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม และตําบลหวยชมพู อําเภอ
                       เมือง จังหวัดเชียงราย ทิศตะวันออกติดตอกับตําบลปาตึง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย และประเทศ
                       เมียนมา และทิศตะวันตกติดตอกับตําบลมะลิกา อําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม ทั้งนี้องคการบริหาร

                       สวนตําบลตั้งอยูหางจากตัวจังหวัดเชียงใหมคอนขางมาก โดยมีระยะทางถึง 173 กิโลเมตร  (องคการ
                       บริหารสวนตําบลทาตอน, 2565) ทั้งนี้องคการบริหารสวนตําบลมีลักษณะทั่วไปของหนวยงาน
                       บริบทเชิงพื้นที่ และบริบทดานการจัดการศึกษาดังนี้


                              ๓.1.1 ลักษณะทั่วไปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
                                     โครงสรางระบบการเมืองขององคการบริหารสวนตําบลทาตอนจําแนกเปน 2 สวน
                       ไดแก ฝายบริหาร ไดแก นายกองคการบริหารสวนตําบลทาตอน รองนายกองคการบริหารสวนตําบล
                       ทาตอน 2 ตําแหนง และเลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบลทาตอน 1 ตําแหนง ฝายนิติ

                       บัญญัติ ไดแก ประธานสภาองคการบริหารสวนตําบลทาตอน รองประธานสภาองคการบริหารสวน
                       ตําบลทาตอน 1 ตําแหนง เลขานุการสภาองคการบริหารสวนตําบลทาตอน 1 ตําแหนงและสมาชิก
                       สภาองคการบริหารสวนตําบลทาตอน (องคการบริหารสวนตําบลทาตอน, 2565)
                                     ในสวนของโครงสรางระบบการบริหารงานภายใน องคการบริหารสวนตําบลทาตอน

                       แบงการบริหารงานออกเปน 5 หนวยงาน (องคการบริหารสวนตําบลทาตอน, 2565) ไดแก
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150