Page 148 - kpiebook65066
P. 148

76






                       เด็ก เยาวชน คนชรา และผูดอยโอกาส) ยุทธศาสตรที่ 6 ยุทธศาสตรการจัดระเบียบภายในชุมชน
                       และ   การสรางความรวมมือในการรักษาความสงบ เรียบรอย (การรักษาความสงบเรียบรอยและ
                       ความปลอดภัยในชุมชน การปองกันบรรเทาสาธารณภัย การปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด
                       อบายมุข และปญหาแรงงานตางดาว ยุทธศาสตรที่ 7 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการบานเมืองที่ดี

                       (การพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรทองถิ่น การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการภายใต
                       หลักธรรมาภิบาล สงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการตรวจสอบควบคุม) (องคการบริหาร
                       สวนตําบลทาตอน, 2565) ดังนั้นประเด็นการศึกษาจึงปรากฏในยุทธศาสตรที่ 5 ยุทธศาสตรการ
                       พัฒนาการศึกษา การสาธารณสุข และคุณภาพชีวิต

                                     ทั้งนี้เมื่อพิจารณาจากแผนพัฒนาทองถิ่น พบวาองคการบริหารสวนตําบลทาตอนมี
                       แผนในการจัดทําโครงการทั้งหมด 1,601 โครงการ (พ.ศ. 2561 – 2565) โครงการสวนใหญอยูใน
                       ยุทธศาสตรที่ 1 ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานที่เหมาะสมกับชุมชนจํานวน 1,037
                       โครงการ (64.8%) ใชงบประมาณทั้งหมด 1,338.828 ลานบาท โดยงบประมาณสวนใหญ เปน

                       งบประมาณในยุทธศาสตรที่ 1 ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานที่เหมาะสมกับชุมชน ใช
                       งบประมาณ 932.141 ลานบาท (69.6%) (องคการบริหารสวนตําบลทาตอน, 2565) ดังนั้น
                       แผนพัฒนาทองถิ่นขององคการบริหารสวนตําบลทาตอนจึงยังใหความสําคัญกับโครงสรางพื้นฐานเปน

                       หลัก
                                     อยางไรก็ตามจากการศึกษาแผนการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
                       องคการบริหารสวนตําบลทาตอน มีโครงการที่อยูในแผนทั้งหมด 102 โครงการ สวนใหญอยูใน
                       ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนาการศึกษา การสาธารณสุข และคุณภาพชีวิต จํานวน 40 โครงการ
                       (39.2%) จํานวนงบประมาณ 63.623 ลานบาท (องคการบริหารสวนตําบลทาตอน, 2563, น. 4 -

                       6) ดังนั้นจึงแสดงใหเห็นวา องคการบริหารสวนตําบลทาตอนใหความสําคัญกับการศึกษาคอนขางมาก
                                     ในสวนของฐานะการเงิน ในดานรายรับ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 องคการ
                       บริหารสวนตําบลทาตอนมีรายรับจริงจํานวน 108.510 ลานบาท เปนรายไดจากการจัดเก็บเอง

                       2.715 ลานบาท รายไดที่รัฐบาลเก็บแลวจัดสรรใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น 44.350 ลานบาท
                       รายไดที่รัฐบาลอุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวน 61.445 ลานบาท สวนรายจาย ในป
                       2563 องคการบริหารสวนตําบลทาตอนมีรายจายจริงจํานวน 91.719 ลานบาท (84.5%)
                       (องคการบริหารสวนตําบลทาตอน, 2564) องคการบริหารสวนตําบลทาตอนจึงมีรายรับมากกวา

                       รายจาย

                              ๓.1.2 บริบทเชิงพื้นที่
                                     จากการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่ของตําบลทาตอน ทั้งลักษณะทางกายภาพ ประชากร

                       สังคม และเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการซึ่งสงผลตอความเหลื่อมล้ํา
                       ทางการศึกษาพบวา (องคการบริหารสวนตําบลทาตอน, 2560, น. 1 - 12)
                                     ๑) ลักษณะทางกายภาพ องคการบริหารสวนตําบลทาตอนมีพื้นที่ประมาณ
                       177.45 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 110,906.25 ไร สวนใหญมีลักษณะเปนภูเขาสูง มีที่ราบ

                       แคบ ๆ ตามชายฝงแมน้ํา และที่ราบตามหุบเขา มีแมน้ํากกไหลผานโดยมีตนกําเนิดจากประเทศเมียน
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153