Page 149 - kpiebook65066
P. 149

77






                       มา โดยไหลผานตลอดแนวเขตพื้นที่ และมีลําหวยเล็กผานตามหมูบานเกือบทุกหมูบาน บนภูเขาสูงมี
                       ปาไมสมบูรณ ไดแก ปาเบญจพรรณ และปาผลัดใบ สภาพพื้นที่เปนดินปนทราย มีการพังทลายของ
                       หนาดิน
                                     ๒) ประชากร ในป 2563 องคการบริหารสวนตําบลทาตอนมีประชากรทั้งสิ้น

                       21,461 คน จําแนกเปนชาย 10,161 คน หญิง 10,743 คน มีครัวเรือน 8,470 ครัวเรือน
                       (องคการบริหารสวนตําบลทาตอน, 2563) โดยประชากรในตําบลทาตอนมีหลากหลายชนเผาจํานวน
                       ถึง 12 ชนเผา
                                     ๓) สังคม และเศรษฐกิจ สภาพสังคมโดยทั่วไปของตําบลทานตอน เปนสภาพสังคม

                       ของคนหลากหลายชาติพันธุ สวนสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของตําบลทาตอน ประชาชนสวนใหญมี
                       อาชีพเกษตรกรรม เชน การทํานาทั้งนาป และนาปรัง รวมถึงขาวไรซึ่งสามารถปลูกไดบนพื้นที่ภูเขา
                       การทําสวนผลไม โดยมีพืชเศรษฐกิจ ไดแก ลิ้นจี่ มะมวง การเลี้ยงสัตว อาทิ กระบือ สุกร ไก ปลา
                       นอกจากนี้ยังมีธุรกิจรานคา โรงแรมที่พัก รีสอรท หองเชา รานอาหาร และรานคาตาง ๆ มีการ

                       ทองเที่ยวโดยมีสถานที่ทองเที่ยวหลากหลาย อาทิ วัดทาตอน น้ําพุรอนมะลิกา ไรองุนหอมแผนดิน
                       หมูบานนานาเผา เปนตน นอกจากนี้ยังมีการทําอุตสาหกรรมในครัวเรือน เชน การทอผาพื้นเมือง
                       หัตถกรรมพื้นบาน การจักสานเปนอาชีพเสริม มีกลุมอาชีพ เชน กลุมทอผาพื้นเมือง และดวยเหตุที่

                       ตําบลทาตอนอยูติดชายแดนไทยเมียนมา จึงทําใหเกิดการยายถิ่นของแรงงานจากประเทศเพื่อนบาน
                       จนทําใหเกิดประชากรแฝงจํานวนมาก
                                     ๔) วัฒนธรรม สําหรับศาสนา ตําบลทาตอนมีคนหลากหลายชนเผาอาศัยอยูรวมกัน
                       แตละหมูบานแบงเปนหยอมบาน ทําใหการนับถือศาสนา ประเพณี วัฒนธรรมมีความหลากหลาย
                       แตกตางกัน มีทั้งที่นับถือศาสนาพุทธ คริสต อิสลาม บางชนเผายังคงนับถือผี โดยมีสถาบัน และ

                       องคกรทางศาสนา ไดแก วัด 17 แหง โบสถคริสต 16 แหง สุเหรา 1 แหง และศาลเจา 1 แหง
                                     ในสวนของประเพณี ประเพณีสําคัญในชุมชน ไดแก ประเพณีสงกรานต ประเพณี
                       ลอยกระทง ประเพณีกินวอ ประเพณีโลชิงชา ประเพณีเขาพรรษา ประเพณีแหเทียนเขาพรรษา

                       ประเพณีสลากภัต ประเพณีกินขาวใหม และประเพณีปอยสางลอง
                                     สําหรับทางดานภาษา ดวยตําบลทาตอนมีหลากหลายชนเผาจึงทําใหมีหลากหลาย
                       ภาษา ทั้งภาษาพื้นเมือง ภาษากะเหรี่ยง ภาษาไทใหญ เปนตน ซึ่งความหลากหลายภาษา ทําใหครูมี
                       ปญหาในการสื่อสารกับเด็ก และผูปกครอง

                                     ๕) ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ตําบลทาตอนมีทางหลวงหมายเลข
                       1089 ตัดผาน ถนนภายในหมูบานมีทั้งถนนลาดยาง และคอนกรีต บางสวนยังมีสภาพเปนถนนลูกรัง
                       มีการพังทลายของถนนดวยมีสภาพเปนภูเขาสูง ประชากรสวนใหญมีไฟฟาใชประมาณ (95%) สวน
                       ระบบประปายังมีไมทั่วถึง ยังมีปญหาการขาดแคลนน้ําเพื่อการอุปโภคทั้ง 15 หมูบาน แมจะมีระบบ

                       ประปา 35 แหง ระบบบอน้ําตื่น 20 แหง และบอน้ําบาดาล 5 แหงก็ตาม การติดตอสื่อสารทาง
                       โทรศัพทสวนใหญสามารถติดตอสื่อสารได แตไมครอบคลุมทุกพื้นที่ ทําใหบางหมูบานการติดตอทําได
                       ยาก สงผลตอการศึกษา โดยเฉพาะเมื่อมีการเรียนออนไลน
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154