Page 151 - kpiebook65066
P. 151

79






                       ศาลา (2) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กหวยปู (3) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กแกงทรายมูล (4) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กใหม
                       หมอกจาม (5) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเมืองงาม (6) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กวัดทาตอน (7) ศูนยพัฒนาเด็ก
                       เล็กหวยสาน (8) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กทามะแกง (9) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานผาใต (10) ศูนยพัฒนา
                       เด็กเล็กสุขฤทัย (11) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กปาแขม (12) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กสันตนคู และ (13) ศูนย

                       พัฒนาเด็กเล็กปากุย
                                            (3.2) สถานศึกษาในสังกัดอื่น ๆ ในพื้นที่ตําบลทาตอน มีสถานศึกษาใน
                       สังกัดอื่น ๆ จํานวน 14 แหง ไดแก (1) โรงเรียนบานหวยปู (อนุบาล – ป.6) (2) โรงเรียนเพียงหลวง
                       1 (บานทาตอน) (อนุบาล – ม.3) (3) โรงเรียนบานหวยน้ําเย็น (อนุบาล – ป.6) (4) โรงเรียน

                       ทนุสันตนดู (อนุบาล – ป.6) (5) โรงเรียนบานทามะแกง (อนุบาล – ม.3) (6) โรงเรียนบานหวยศาลา
                       (อนุบาล – ป.6) (7) โรงเรียนเจาพอหลวงอุปถัมภ 9 (อนุบาล – ม.3) (8) โรงเรียนโชติคุณะเกษม
                       บานเมืองงาม (อนุบาล – ม.3) (9) โรงเรียนกมล-เรียม สุโกศล (บานผาใต) (อนุบาล – ป.6)
                       (10) โรงเรียนบานสุขฤทัย (อนุบาล – ป.6) (11) โรงเรียนศึกษานารีอนุสรณ 3 (ตชด. บานหวยสาน)

                       (อนุบาล – ป.6) และ (12) โรงเรียนไลออนสมหาจักร 8 บานรมไทย (ตชด.) (อนุบาล – ป.6 (13)
                       โรงเรียนอนุบาลอัลมอล (เตรียมอนุบาลและอนุบาล) และ (14) ศูนยการเรียนรูชุมชนบานผาแตก


                              ๓.1.4 บริบทดานความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา
                                     จากสํารวจสภาพปญหาที่เกี่ยวของกับความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาขององคการ
                       บริหารสวนตําบลทาตอนพบวา องคการบริหารสวนตําบลทาตอน เปนตําบลที่อยูเหนือสุดของจังหวัด
                       เชียงใหมที่มีความหลากหลายของกลุมชาติพันธุ แตละกลุมชาติพันธุมีความแตกตางในการดําเนินชีวิต
                       ภาษา ประเพณี วัฒนธรรม เด็กเล็ก และผูปกครองจะใชภาษาถิ่นของตนเองในการสื่อสารเปนหลัก

                       สงผลใหเด็กเล็กที่ไมไดพูดภาษาไทยที่เปนภาษาแม ทําใหตองเผชิญปญหาในการเรียนหลายประการ
                       เชน การไมเขาใจภาษาที่ครูใชสื่อสารกับเด็กเล็ก ฯลฯ และเด็กสวนใหญที่พบ มักอาศัยอยูกับ
                       ผูปกครองที่เปน ปู ยา ตา ยาย ซึ่งมีอายุมาก ที่ไมสามารถสื่อสารภาษาไทยได ทําใหดูแลเด็กเล็กไมดี

                       เทาที่ควร และการสื่อสารใชภาษาของกลุมชาติพันธุ อันจะสงผลตอการจัดการศึกษาระดับที่สูงใน
                       อนาคตตอไป ดังนั้น (1) การที่ครอบครัวมีความหลากหลายของกลุมชาติพันธุ มีความแตกตางในการ
                       ดําเนินชีวิต ภาษา ประเพณี วัฒนธรรม และ (2) เด็กสวนใหญที่พบ มักอาศัยอยูกับผูปกครองที่เปน ปู
                       ยา ตา ยาย ซึ่งมีอายุมาก ที่ไมสามารถสื่อสารภาษาไทยได ทําใหดูแลเด็กเล็กไมดีเทาที่ควร ปญหา

                       ดังกลาวทําใหเกิดผลกระทบ คือ เด็กเล็กในศูนยพัฒนาเด็กเล็กที่ไมไดพูดภาษาไทยที่เปนภาษาแม ไม
                       สามารถสื่อสารภาษาไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลตอการจัดการศึกษาระดับที่สูงในอนาคต
                       ตอไป


                       ๓.2 องคการบริหารสวนตําบลวอแกว

                              องคการบริหารสวนตําบลวอแกว ตั้งอยูในเขตอําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง โดยมีที่ตั้ง
                       สํานักงานอยูเลขที่ 127 หมูที่ 2 ตําบลวอแกว อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง ทิศเหนืออยูติดกับ

                       ตําบลบานเอื้อม อําเภอเมืองลําปาง ทิศตะวันออก อยูติดกับตําบลหนองหลม อําเภอหางฉัตร ทิศใต
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156