Page 156 - kpiebook65066
P. 156

84






                                     ดังนั้นเมื่อพิจารณาจากแผนการดําเนินงาน ในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 องคการ
                       บริหารสวนตําบลวอแกวมีโครงการที่เกี่ยวของกับการศึกษาภายใตแผนงานการศึกษาเพียง 3
                       โครงการ งบประมาณรวม 0.638 ลานบาท ไดแก โครงการสนับสนุนคาใชจายในการบริหาร
                       สถานศึกษา โครงการอาหารกลางวันนักเรียน (โรงเรียนทุงหก) โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อ

                       สรางความเขมแข็งทางวิชาการ และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (โรงเรียนทุงหก) ดังนั้นจึงไมพบ
                       โครงการที่เกี่ยวของกับการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในพื้นที่
                                     3) สถานศึกษา ในเขตพื้นที่เทศบาลมีสถานศึกษารวม 4 แหง ไดแก
                                            (3.1) สถานศึกษาสังกัดองคการบริหารสวนตําบลวอแกว มีเพียง 1 แหง

                       ไดแก ศูนยพัฒนาเด็กเล็กองคการบริหารสวนตําบลวอแกว
                                            (3.2) สถานศึกษาในสังกัดอื่น ๆ จํานวน 3 แหง ไดแก (1) โรงเรียนบาน
                       ทุงหก (2) โรงเรียนวอแกววิทยา และ (3) โรงเรียนวอแกววิทยา


                              ๓.2.4 บริบทดานความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา
                                     1) ปญหา ที่มาของปญหา และผลกระทบจากปญหา องคการบริหารสวนตําบล
                       วอแกวไดรวมกับผูนําหมูบาน โรงเรียนวอแกววิทยา โรงเรียนบานทุงหก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

                       โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลวอแกว อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ผูนําองคกร
                       ภาคประชาชน สํารวจเด็กเยาวชนที่อยูในระบบการศึกษา และนอกระบบการศึกษาพบวา (1) เด็ก
                       อายุ 2 – 5 ป จํานวน 20 คน มีปญหาที่สงผลกระทบตอการเรียน ไดแก ครอบครัวมีรายไดนอย อยู
                       ในครอบครัวใหญ จํานวน 11 คน เด็กไมไดรับประทานอาหารเชาที่เพียงพอ สงผลตอการเจริญเติบโต
                       ของรางกาย จํานวน 2 คน เด็กอยูกับปูยาตายาย พมาแมแยกกันอยู สงผลตอการเรียนของเด็ก เด็ก

                       เรียนรูไดชา จํานวน 4 คน และเด็กมีพัฒนาการดานการเรียนรูชากวาวัย มีโรคประจําตัว จํานวน 3
                       คน ดังนั้นเด็กจึงมีความตองการไดรับการสนับสนุนดานทุนการศึกษา สื่อการเรียนที่เหมาะกับ
                       พัฒนาการของเด็ก อาหารเชา (2) เด็กชวงอายุ 6 – 15 ปจํานวน 56 คน จําแนกเปนมีปญหา

                       ครอบครัวมีรายไดนอย อยูในครอบครัวขนาดใหญ จํานวน 15 คน พอแมแยกทาง อยูกับปูยา ตายาย
                       ทําใหมีผลตอการเรียนรู จํานวน 29 คน พัฒนาการดานการเรียนรูชากวาวัย มีโรคประจําตัว จํานวน
                       12 คน และ (3) เยาวชนชวงอายุ 16 – 18 ป จํานวน 14 คน ประสบปญหาคลายคลึงกัน คือ
                       ครอบครัวมีรายไดนอย อยูในครอบครัวใหญ จํานวน 5 คน เด็กเยาวชนที่อยูในระบบการศึกษามี

                       สถานะทางครอบครัวที่พอแมแยกทางกันอยู ทําใหตองอาศัยอยูกับปู ยา ตา ยาย หรือญาติ ซึ่งขาด
                       การดูแลเอาใจใสจากพอแม จํานวน 4 คน พัฒนาการดานการเรียนรูชากวาวัย มีโรคประจําตัว
                       จํานวน 2 คน ไมตองการเรียน จํานวน 3 คน
                                     นอกจากนี้ยังพบปญหาอื่น ๆ อาทิ ขาดการสนับสนุน วัสดุ/อุปกรณการเรียน รวมถึง

                       สื่อที่จําเปนสําหรับการเรียนการสอนในยุคที่ตองใชระบบสารสนเทศในการเรียนการสอน ประกอบกับ
                       สถานะทางรายไดสวนใหญเปนครอบครัวที่มีอาชีพทําการเกษตร และรับจางทั่วไป จึงมีรายไดนอย ไม
                       สามารถจัดหาอุปกรณทางการศึกษามาชวยสนับสนุนการเรียนการสอนไดอยางเต็มที่ สงผลใหเด็ก
                       เยาวชนขาดโอกาสการเขาถึงการศึกษา ไมสามารถเรียนใหจบการศึกษาในระดับที่คาดหวังได สงผล
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161