Page 141 - kpiebook65066
P. 141

71






                         โครงการ               หนวยงานที่เกี่ยวของ/บทบาท         ปจจัยสําเร็จ      แนวทางในการขยายผลไปยังพื้นที่  แนวทางการสรางความยั่งยืน
                                                                                                               อื่น ๆ                ใหโครงการ
                                             6) คณะกรรมการกองทุน โดยเปนกลุม
                                          ตัวแทนทั้ง 5 กลุมขางตน มีบทบาทในการ
                                          บริหารกองทุน
                 4) โครงการการสรางภาคีเครือขาย  1) องคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยเฉพาะ  • ความมุงมั่นของสถานศึกษา ในการ  • หลังจากโรงเรียนดําเนินโครงการ  •  ทําใหภาคสวนตาง ๆ ใน
                 เพื่อระดมทุนชวยเหลือการศึกษาแก  องคการบริหารสวนจังหวัด มีบทบาทในการ  ชวยเหลือเด็กยากจนพิเศษ    ไประยะหนึ่งแลว ควรมีการถอด  ชุมชนเห็นความสําคัญ และ
                 เด็กยากจนพิเศษ           สนับสนุนดานนโยบาย สงเสริม และกระตุนใหแก  • ความสามารถของสถานศึกษาในการ  บทเรียนเพื่อพัฒนาเปนระบบ  เขามามีสวนรวมในภาคี
                                          สถานศึกษาในสังกัด และนอกสังกัดสรางภาคี  ประสานเครือขายความรวมมือ  กองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก   เครือขายมากยิ่งขึ้น
                                          เครือขายเพื่อระดมทุนชวยเหลือการศึกษาแกเด็ก  ระหวางเครือขายตาง ๆ ในชุมชน    และเยาวชนที่ขาดแคลน   •  การสรางภาคีเครือขายนอก
                                          ยากจนพิเศษ                      • การสนับสนุนขององคกรปกครองสวน • องคการบริหารสวนจังหวัดควร  พื้นที่
                                             2) สถานศึกษามีบทบาทในการบริหาร  ทองถิ่นในพื้นที่         ขยายผลโครงการดังกลาวไปยัง  •  การเชื่อมโยงกองทุนไปสู
                                          โครงการ การประสานภาคีเครือขาย การระดม  • ความรวมมือของเครือขายภาคประชา  สถานศึกษาอื่น ๆ ที่มีสภาพปญหา  ระบบแผนพัฒนาทองถิ่นของ
                                          ทุน การชวยเหลือ และการติดตามเด็กยากจน  สังคมตาง ๆ ในพื้นที่    เดียวกันในจังหวัด     องคกรปกครองสวนทองถิ่น
                                          พิเศษ                           • ความสามารถในการระดมทุน และ                           ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับ
                                             3) ตัวแทนภาคประชาสังคมในพื้นที่ มี                                                  จังหวัด
                                          บทบาทในการเก็บขอมูล การเขามามีสวนรวมใน  การบริหารเงินทุน
                                          การระดมทุน การบริหารเงินทุน การชวยเหลือ  • ระบบการประเมินเด็ก การชวยเหลือ
                                          เด็กยากจนพิเศษ การติดตามเด็กยากจนพิเศษที่  เด็ก และการติดตามเด็กที่ไดรับความ
                                          ไดรับทุน                         ชวยเหลือ
                                             4) ตัวแทนผูปกครอง มีบทบาทในการให
                                          ขอมูล การเขามามีสวนรวมในการระดมทุน การ
                                          ติดตาม เด็กที่ไดรับทุน
                                             5) ตัวแทนเด็ก และเยาวชนมีบทบาทใน
                                          การใหขอมูล การเขามามีสวนรวมในการบริหาร
                                          เงินทุน การติดตาม เด็กที่ไดรับทุน
                                             6) คณะกรรมการ โดยเปนกลุมตัวแทนทั้ง
                                          5 กลุมขางตน มีบทบาทในการบริหารทุน
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146