Page 139 - kpiebook65066
P. 139

70






                         โครงการ               หนวยงานที่เกี่ยวของ/บทบาท         ปจจัยสําเร็จ      แนวทางในการขยายผลไปยังพื้นที่  แนวทางการสรางความยั่งยืน
                                                                                                               อื่น ๆ                ใหโครงการ
                                                                          • ความรวมมือของผูปกครองในการ
                                                                            ดูแลเยาวชนจนสามารถจบการศึกษา
                                                                          • ระบบติดตามเยาวชนที่ไดรับทุนจน
                                                                            กระทั้งเยาวชนจบการศึกษา และ
                                                                            ภายหลังจากเยาวชนเขาทํางานกับ
                                                                            สถานประกอบการในพื้นที่
                 3) โครงการกองทุนปจจัยยังชีพ  1) องคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยเฉพาะ  • ความมุงมั่นของโรงเรียน และครูใน  • หลังจากโรงเรียนดําเนินโครงการ  •  ทําใหภาคสวนตาง ๆ ใน
                 สําหรับเด็ก และเยาวชนที่ขาดแคลน  องคการบริหารสวนจังหวัด มีบทบาทในการ  การชวยเหลือเด็ก และเยาวชน   ไประยะหนึ่งแลว ควรมีการถอด  ชุมชนเห็นความสําคัญ และ
                                          สนับสนุนดานนโยบาย สงเสริม และกระตุนใหแก  • การสนับสนุนขององคกรปกครองสวน  บทเรียนเพื่อพัฒนาเปนระบบ  เขามามีสวนรวมในการ
                                          สถานศึกษาในสังกัด และนอกสังกัด เพื่อตั้ง  ทองถิ่นในพื้นที่   กองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก   สนับสนุนทรัพยากร ชวย
                                          กองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก และเยาวชน   • ความรวมมือของเครือขายภาคประชา  และเยาวชนที่ขาดแคลน   แกไขปญหา และชวยในการ
                                             2) สถานศึกษา และครู มีบทบาทในการ  สังคมตาง ๆ ในพื้นที่    • องคการบริหารสวนจังหวัดควร  ติดตามเด็ก และเยาวชนที่
                                          บริหารโครงการ ทั้งการจัดตั้งกองทุน การจัด  • การบริหารกองทุน โดยเฉพาะการ  ขยายผลโครงการดังกลาวไปยัง  ไดรับการสนับสนุนทุน
                                          คณะกรรมการกองทุน การระดมทุน การ   บริหารงบประมาณ เพื่อใหกองทุนมี  สถานศึกษาอื่น ๆ ที่มีสภาพปญหา  •  การเชื่อมโยงกองทุน ไปยัง
                                          สนับสนุนทุน การติดตาม และประเมินผลการ  งบประมาณเพื่อการดําเนินโครงการ  เดียวกันในจังหวัด   กองทุนอื่น ๆ ที่มีอยูในชุมชน
                                          ดําเนินงานของกองทุน               อยางตอเนื่อง และยั่งยืน                            และนอกชุมชน เพื่อใหเกิด
                                             3) ตัวแทนภาคประชาสังคมในพื้นที่ มี                                                  ความมั่นคงดานการระดม
                                          บทบาทในการใหขอมูล การเขามามีสวนรวมใน  • ระบบติดตามเด็ก และเยาวชนที่ไดรับ         ทรัพยากร โดยเฉพาะเงินทุน
                                          การบริหารกองทุน การชวยเหลือสนับสนุน  ความชวยเหลือ                                 •  การเชื่อมโยงกองทุนไปสู
                                          เงินทุน การชวยเหลือเด็ก และเยาวชนที่ไดรับทุน   • การจัดทําแผนการดําเนินงานที่เปน    ระบบแผนพัฒนาทองถิ่นของ
                                          การติดตามเด็ก และเยาวชนที่ไดรับทุน   ระบบ เพื่อใหการแกไขปญหาเปนไป                 องคการบริหารสวนจังหวัด
                                             4) ตัวแทนผูปกครอง มีบทบาทในการให  แบบองครวม
                                          ขอมูล การเขามามีสวนรวมในการบริหารกองทุน
                                          การติดตาม เด็ก และเยาวชนที่ไดรับทุน
                                             5) ตัวแทนเด็ก และเยาวชนมีบทบาทใน
                                          การใหขอมูล การเขามามีสวนรวมในการบริหาร
                                          กองทุน การติดตาม เด็ก และเยาวชนที่ไดรับทุน
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144