Page 30 - kpiebook65021
P. 30
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
ปัญหาดังกล่าวข้างต้น ท าให้เกิดค าถามว่าปัญหาและความต้องการของประชาชนที่เป็นข้อค้นพบจากการวิจัยนี้
มีความสอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐในรูปแบบของแผนพัฒนาจังหวัด และแผนยุทธศาสตร์ของชาติ
หรือไม่อย่างไร ซึ่งเป็นความท้าทายในการพัฒนาตัวแบบในการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านสิทธิและการมีส่วนร่วม
พัฒนานโยบายจากตัวแทนภาคประชาชนกลุ่มต่าง ๆ อันจะน าไปสู่การเสนอนโยบายไปยังหน่วยงานภาครัฐที่
เกี่ยวข้องของจังหวัดจันทบุรี โดยประชาชนสามารถใช้สิทธิและมีส่วนร่วม ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้อย่างแท้จริง
1.2 วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
เพื่อพัฒนาตัวแบบการเสริมสร้างสิทธิและการมีส่วนร่วมพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัด
จันทบุรี
1.3 นิยำมเชิงปฏิบัติกำร
สิทธิ หมายถึง การรับรู้และตระหนักถึงอ านาจของประชาชนในการมีส่วนร่วมพัฒนานโยบาย
โดยอาศัยความร่วมมือจากการท างานแบบหุ้นส่วนระหว่างภาคประชาชนและภาครัฐ
การมีส่วนร่วม หมายถึง การมีส่วนร่วมระหว่างภาคประชาชนและภาครัฐ
นโยบายสาธารณะ หมายถึง นโยบายที่พัฒนามาจากการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและภาครัฐ
ในขั้นต่าง ๆ ตั้งแต่ขั้นก่อตัวของนโยบาย ขั้นก าหนดข้อเสนอเชิงนโยบาย ตลอดจนขั้นน าเสนอเพื่อก าหนด
เป็นนโยบาย
1.4 ขอบเขตกำรวิจัย
1.4.1 ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ
ศึกษาเรื่องการเสริมสร้างสิทธิและการมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบายสาธารณะ
1.4.2 ขอบเขตด้ำนพื้นที่
10 อ าเภอของจังหวัดจันทบุรี ประกอบด้วย 1) อ าเภอเมืองจันทบุรี 2) อ าเภอขลุง 3) อ าเภอท่าใหม่
4) อ าเภอโป่งน้ าร้อน 5) อ าเภอมะขาม 6) อ าเภอแหลมสิงห์ 7) อ าเภอสอยดาว 8) อ าเภอแก่งหางแมว
9) อ าเภอนายายอาม และ 10) อ าเภอเขาคิชฌกูฏ
1.4.3 ขอบเขตด้ำนระยะเวลำ
1 ตุลาคม 2563 ถึง 31 ตุลาคม 2564
5