Page 288 - kpiebook65021
P. 288

โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน:  กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี





              ข้อห่วงกังวลในส่วนของผู้น าชุมชน เช่น การไม่ประสานงานท าให้ไม่สามารถแก้ปัญหาในชุมชนได้จริง การ
              ก าหนดนโยบายของผู้น ายังเป็นไปเพื่อผลประโยชน์พวกพ้องส่งผลให้เกิดความแตกแยกในชุมชน เป็นต้น

              ประเด็นห่วงกังวลเหล่านี้มีความส าคัญต่อความส าเร็จของนโยบาย แม้ประชาชนจะมีสิทธิและได้มีส่วนร่วมใน
              การพัฒนานโยบายสาธารณะ แต่หากไม่ได้เข้าร่วมในการด าเนินงานและตรวจสอบทางนโยบาย ก็ถือเป็นการมี
              ส่วนร่วมที่ไร้ความหมายเช่นกัน

                     ส าหรับการวิเคราะห์ผลการศึกษาตามตัวแบบการเสริมสร้างสิทธิและการมีส่วนร่วมพัฒนานโยบาย
              สาธารณะจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี สรุปดังภาพต่อไปนี้


                    หน่วยงำนรัฐใน                   1) กระบวนกำรสร้ำงควำมเข้ำใจ

                    พื้นที่                         - การสนับสนุนของภาครัฐและ
                    เจตนารมย์
                    รัฐธรรมนูญ มีผล                 องค์กรวิชาการ

                    ต่อมุมมองที่                    - การมีตัวแทนแกนน าภาค
                                                    ประชาชนที่เพียงพอเพื่อร่วมรับรู้
                    ส่งเสริมและการ                  และขยายผลตัวแบบ
                    สนับสนุนของ
                    หน่วยงานรัฐใน
                    พื้นที่ ได้แก่
                    ส านักงานจังหวัด               2) กระบวนกำรรวบรวม

                    องค์การบริหาร                  ควำมต้องกำร
                    ส่วนจังหวัด และ                - การสนับสนุนของหน่วยงานรัฐใน
                                                   ระดับต าบล
                    พัฒนาชุมชน
                    จังหวัด                        - การประสานงานและบริหาร              ความเข้มแข็งด้าน
                                                   เครือข่ายขององค์กรวิชาการ            สิทธิและการมีส่วน
                                                                                        ร่วมของประชาชนต่อ
                    ภำคประชำชน                     - การสื่อสารวัตถุประสงค์และ          การด าเนินงานตาม
                    การรับรู้ตั้งแต่การ
                    ก่อตัวของนโยบาย                เนื้อหาประเด็นที่รวบรวมข้อมูล        นโยบาย
                                                   ให้กับเครือข่ายไปสู่ประชาชน
                    มีผลต่อการใช้สิทธิ

                    และมีส่วนร่วม

                    องค์กรวิชำกำร                   3) กระบวนกำรพัฒนำข้อเสนอ

                    เข้าใจบริบทความ                 ทิศทำง                              ความเข้มแข็งด้าน
                    หลากหลายของ                     - กิจกรรมพัฒนาข้อเสนอทิศ            สิทธิและการมีส่วน
                    พื้นที่และสามารถ
                    ประสานเครือข่าย                 ทางการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม            ร่วมในการพัฒนา
                                                    - ความท้าทายด้านการบริหาร
                    ทั้งภาครัฐและ                   ปกครองภาครัฐ เช่น ความมั่นคง        นโยบายของภาค
                    ประชาชนในพื้นที่                ทางการเมือง การบูรณาการและ          ประชาชน

                                                    การวางแผนงานระหว่างหน่วยงาน
                                                    การกระจายงบประมาณ

              ภำพ 9.1 ตัวแบบเงื่อนไขในการส่งเสริมความเข้มแข็งด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา

              นโยบายสาธารณะจังหวัดจันทบุรี




                                                         258
   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293