Page 283 - kpiebook65021
P. 283
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
นโยบายสาธารณะระดับมากที่สุดในประเด็นที่ว่ามีความต้องการและพร้อมที่จะร่วมมือกับภาครัฐในการพัฒนา
ชุมชน เช่น ในการร่วมบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดท าบริการสาธารณะ ฯลฯ
อย่างไรก็ดี แม้การตอบแบบสอบถามจะมีจ ากัดในเชิงจ านวนของผู้ตอบ แต่การปรึกษาหารือผู้บริหาร
ระดับสูงในจังหวัดและทีมวิจัยในพื้นที่ ท าให้ทราบว่าจังหวัดจันทบุรีเป็นเมืองเกษตรที่กลุ่มเกษตรกรเป็น
เจ้าของเอง ประชาชนมีส่วนร่วมและมีความเข้มแข็ง จึงท าให้จังหวัดประหยัดงบประมาณได้พอสมควรเพราะ
ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา
บทบาทองค์กรวิชาการ ในการวิจัยครั้งนี้องค์กรวิชาการมีบทบาทเป็นผู้เชื่อมประสานระหว่าง
หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชน โดยการออกแบบวิธีการแล้วสร้างความร่วมมือจากภาครัฐ คณะผู้วิจัยยังมี
การเชื่อมประสานซึ่งกันและกันระหว่างทีมวิจัยส่วนกลางและนักวิจัยในพื้นที่ซึ่งมีบทบาทมากในการได้มาซึ่ง
ข้อมูลในช่วงสถานการณ์โควิด เพราะนักวิจัยในส่วนกลางมีข้อจ ากัดในการลงพื้นที่ต่างจังหวัด
ส าหรับข้อจ ากัดส าคัญในการวิจัยครั้งนี้นอกจากเป็นสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสที่ไม่อาจท าให้
ด าเนินกระบวนการวิจัยได้อย่างสมบูรณ์ จากการถอดบทเรียนการวิจัยของการรวบรวมความคิดเห็นจากแบบ
สัมภาษณ์ยังพบว่า กระบวนการรวบรวมข้อมูลแม้จะมีหนังสือขอความอนุเคราะห์ไปยังส านักงานพัฒนาชุมชน
ในแต่ละต าบลแล้ว ทางส านักงานพัฒนาชุมชนยังต้องท าหนังสือไปยังส านักงานจังหวัดเพื่อให้ส านักงานจังหวัด
ด าเนินเรื่องต่อมายังระดับอ าเภอด้วย เพราะนักวิจัยในพื้นที่ได้ประสานเพื่อให้ส านักงานพัฒนาชุมชนช่วย
ด าเนินการจัดเก็บข้อมูล และพัฒนาชุมชนได้ประสานไปทางก านันหรือผู้ใหญ่บ้านในแต่ละพื้นที่ให้เป็นผู้เก็บ
แบบสัมภาษณ์ ซึ่งการกระจายแบบสัมภาษณ์บางครั้งอาศัยช่วงเวลาการประชุมของหน่วยงานเพื่อเป็นการ
มอบหมายงานและสร้างความเข้าใจในแบบสอบถาม ส่วนการจัดเก็บข้อมูลความความครบถ้วนตาม
ก าหนดเวลาหรือไม่ขึ้นอยู่กับศักยภาพของชุมชนและเจ้าหน้าที่ในแต่ละพื้นที่ซึ่งต่างกัน บางพื้นที่ที่เก็บข้อมูลได้
ยากเพราะพื้นที่ห่างไกลกันจึงเก็บข้อมูลได้ล่าช้า หรือบางพื้นที่ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้เพราะพื้นที่ถูกปิด
ห้ามเข้าออกในช่วงสถานการณ์โควิด บางพื้นที่ต้องเข้าไปเก็บข้อมูลหลายครั้ง เช่น หมู่บ้านไร้แผ่นดิน ความท้าทาย
อีกประการที่ส าคัญคือแบบสัมภาษณ์ระบุกลุ่มเป้าหมายตามกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มทางสังคมด้วย
ส าหรับแนวทางการด าเนินการต่อไปส าหรับการรวมรวมข้อมูลในอนาคต แบบสัมภาษณ์เป็นแบบ
ปลายเปิด การเก็บข้อมูลจึงไม่อาจเป็นลักษณะของการปล่อยแบบสัมภาษณ์ไว้กับผู้ตอบแต่ควรเป็นการจัดสนท
นาการกลุ่มเพื่ออธิบายและให้ผู้ตอบได้ซักถามแล้วตอบลงไปในแบบสัมภาษณ์ได้ทันที หรือมีการประชุมทีมผู้ที่
สัมภาษณ์เพิ่มเติมเพื่อท าความเข้าใจกับประเด็นค าถามก่อนน าแบบสัมภาษณ์ไปใช้จริง อีกทั้ง การขอความ
อนุเคราะห์ไปยังหน่วยงานเพื่อช่วยสนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลแต่ละพื้นที่อาจพิจารณาศักยภาพของหน่วยงาน
ในการเข้าถึงกลุ่มตัวอย่าง บางพื้นที่อาจขอความสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บางพื้นที่อาจใช้กล
ไกลส านักงานพัฒนาชุมชน หรือบางพื้นที่อาจขอการสนับสนุนจากส านักงานการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด
เป็นต้น
253