Page 282 - kpiebook65021
P. 282
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
9.1.3 บทบำทของรัฐ ประชำชน และองค์กรวิชำกำร
บทบาทภาครัฐในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการให้ค าปรึกษาหารือเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของพื้นที่ การเก็บ
ข้อมูลจากภาคส่วนต่าง ๆ การอ านวยความสะดวกด้านการประสานงานและเก็บข้อมูล โดยการให้ข้อแนะน า
เกี่ยวกับการเก็บแบบสัมภาษณ์ที่ประสานผ่านส านักงานอ าเภอ และในส่วนของการเข้าร่วมประชุมเชิง
ปฏิบัติการอาจเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท าแผน เช่น ฝ่ายปกครอง พัฒนาชุมชน ท้องถิ่นอ าเภอ เกษตร
เกษตรอ าเภอ สาธารณสุขอ าเภอเข้ามาด้วย โดยอาจท าหนังสือถึงนายอ าเภอให้นายอ าเภอเชิญบุคคลดังกล่าว
เข้ามามีส่วนร่วม พร้อมทั้งผู้น าชุมชนที่มีบทบาทในการท ากิจกรรมในพื้นที่ เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน ตัวแทน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวแทนหน่วยงานระดับท้องที่ ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้บริหารท้องถิ่น ฯลฯ
บทบาทขององค์กรภาครัฐ กับการศึกษาพฤติกรรมความเป็นพลเมืองส าหรับสังคมไทย (ถวิลวดี บุรีกุล
และคณะ, 2563) ที่ว่าปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนานโยบายสาธารณะ มีทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก
ซึ่งปัจจัยภายใน ได้แก่ ความเป็นหุ้นส่วนในการจัดเวที ความร่วมมือของหน่วยงานรับนโยบาย หน่วยงานรับ
นโยบายเป็นผู้จัด ภาวะผู้น าของผู้บริหารท้องถิ่น หน่วยงานมีประเด็นพัฒนามาก่อน อย่างไรก็ดี งานวิจัยครั้งนี้
ยังไม่สอดคล้องในเรื่องของผู้เข้าร่วมมีพลเมืองที่กระตือรือร้น และมีหน่วยงานที่รับนโยบายไปปฏิบัติ เนื่องจาก
ยังขาดกระบวนการพัฒนาข้อเสนอทิศทางการพัฒนา
บทบาทภาคประชาชนในครั้งนี้ คณะผู้วิจัยออกแบบให้เป็นทั้งผู้ให้ข้อมูลและร่วมพัฒนาข้อเสนอ
ทิศทางการพัฒนาจังหวัด แต่ด้วยข้อจ ากัดของสถานการณ์โรคระบาด ท าให้บทบาทภาคประชาชนถูกจ ากัดลง
เป็นผู้ให้ข้อมูล อย่างไรก็ดี คณะผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามกลับไปยังผู้ตอบแบบสัมภาษณ์เท่าที่จะสามารถ
ด าเนินการได้ เพื่อทราบระดับการรับรู้ ทัศนคติ และการแสดงออกด้านการมีส่วนร่วมในเบื้องต้นจากผู้ตอบ
แบบสอบถามกลับมาจ านวน 23 คน ผลจากแบบสอบถามพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีการรับรู้ คิดเห็น และ
แสดงออกในประเด็นสิทธิและการมีส่วนร่วมในนโยบายสาธารณะอย่างน่าสนใจ โดยประเด็นที่รับรู้มากที่สุด
เกี่ยวกับเรื่องสิทธิคือสิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากการท างานขององค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) และเทศบาล ตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560 มาตรา 253 และมีความ
คิดเห็นเกี่ยวกับการใช้สิทธิในระดับมากที่สุด ในประเด็นที่ว่า ตนมีสิทธิที่จะร่วมพัฒนาชุมชน รวมทั้งมีสิทธิรับรู้
ขับเคลื่อน และติดตามผลการขับเคลื่อนนโยบายร่วมกับ อบจ. อบต. เทศบาล หรือหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง
ขณะที่การแสดงออกเกี่ยวกับเรื่องสิทธิอยู่ระดับมากที่ประเด็น เคารพสิทธิของผู้อื่นโดยรับฟังและเปิดใจยอมรับ
การแสดงความคิดเห็นของผู้อื่นในเวทีนโยบายสาธารณะ
ส่วนการมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะ ส่วนใหญ่รับรู้ว่าตนมีหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ
ในการร่วมบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และพิทักษ์ผลประโยชน์ประเทศ รวมทั้งรับรู้ว่า
ตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560 มาตรา 57 รัฐต้องจัดให้มีพื้นที่สาธารณะส าหรับการท ากิจกรรม โดยต้อง
ส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน และองค์กรท้องถิ่นมีส่วนร่วม ส่วนความคิดเห็นต่อการมีส่วนร่วมในกระบวนการ
นโยบายสาธารณะ ผู้ตอบแบบสอบถามคิดเห็นระดับมากที่สุดในสองประเด็น ได้แก่ การมีส่วนร่วมเสนอ
นโยบายจากภาคประชาชนควรเกิดจากการรวมตัวของชุมชนจึงจะท าให้เสียงของประชาชนได้รับการรับฟัง
และการจัดท านโยบายต้องการการมีส่วนร่วมจากผู้คนหลายกลุ่ม เช่น ประชาชน หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง
ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ขณะที่ผู้ตอบแบบสอบถามมีการแสดงออกด้านการมีส่วนร่วมในกระบวนการ
252