Page 63 - kpiebook65019
P. 63
62 ประเด็นส�ำคัญที่พึงมีและควรแก้ไขตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 :
สิทธิชุมชน ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม
ตำมมำตรำ 67 หำกกรณีใดที่มีกฎหมำยก�ำหนดรำยละเอียดในกำรด�ำเนินกำรไว้แล้ว
ก็ให้ด�ำเนินกำรตำมที่กฎหมำยบัญญัติ ส่วนกรณีใดที่ยังไม่สำมำรถด�ำเนินกำรได้
เพรำะยังไม่มีกฎหมำยก�ำหนดรำยละเอียดในกำรด�ำเนินกำร ก็ต้องรอจนกว่ำจะ
19
มีกฎหมำยจึงจะด�ำเนินกำรตำมบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญต่อไปได้ ” ความเห็น
ดังกล่าวของคณะกรรมการกฤษฎีกาในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ให้ความเห็นในทาง
กฎหมายแก่รัฐบาลและส่วนราชการต่าง ๆ จึงสามารถที่จะสะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้าง
ของปัญหากระบวนการในการพัฒนาและเสริมสร้างสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ
ที่อยู่ในระบบราชการในระดับต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน
ด้วยเหตุดังนั้น หากใช้หลักการของ “กระบวนการรัฐธรรมนูญนิยม”
(Constitutionalism) ซึ่งเป็นรากฐานความคิดของการจัดท�ารัฐธรรมนูญที่เป็น
ลายลักษณ์อักษรที่จะท�าให้บรรลุถึงเจตนารมณ์หรือเจตจ�านงร่วมของสังคมในการมี
รัฐธรรมนูญ โดยสามารถสรุปเป็นหลักการที่ส�าคัญดังนี้
การใช้รัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือในการก�าหนดกลไกในการจัดความสัมพันธ์
เชิงอ�านาจระหว่างผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ของรัฐ กับประชาชน โดยการรับรองคุ้มครอง
และพัฒนาสิทธิ-เสรีภาพใหม่ให้กับประชาชน และก�าหนดให้เป็นหน้าที่ของ รัฐบาล
ฝ่ายปกครอง ที่จะต้องเข้าไปด�าเนินการในสมดังสิทธิต่าง ๆ ตามที่รัฐธรรมนูญให้
การรับรอง
แต่เนื่องจากในกรณีประเทศไทย แม้จะมีการรับรองสิทธิไว้เป็นลายลักษณ์
อักษรแล้วก็ตามเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองในระดับปฏิบัติและองค์กรชี้ขาดก็ยังต้องการ
19 เรื่องเสร็จที่ ๔๙๑-๔๙๓/๒๕๕๒ บันทึกส�านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง การด�าเนิน
โครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ตามมาตรา 67 วรรคสอง
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย