Page 65 - kpiebook65019
P. 65

64   ประเด็นส�ำคัญที่พึงมีและควรแก้ไขตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 :
          สิทธิชุมชน ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม


               ด้วยเหตุดังนั้น ในกำรจัดท�ำรัฐธรรมนูญและหำกต้องกำรที่จะท�ำให้
        ควำมเป็นกฎหมำยสูงสุดของรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นหลักกำรที่ส�ำคัญอีกประกำรหนึ่ง

        ของ “กระบวนกำรรัฐธรรมนูญนิยม” ควรที่จะต้องก�ำหนดให้มีองค์อิสระที่
        ท�ำหน้ำที่ในกำรด�ำเนินกำรติดตำม ตรวจสอบ และเสนอเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติ

        เพื่อด�ำเนินแก้ไขปรับปรุงกฎหมำยที่ขัดหรือแย้งหลักกำรพื้นฐำนของสิทธิชุมชน
        ตำมที่รัฐธรรมนูญรับรอง ภำยหลังจำกที่รัฐธรรมนูญประกำศใช้และมีผลใช้บังคับ

        และจะต้องด�ำเนินกำรภำยในระยะเวลำที่มีก�ำหนดแน่นอนตำมที่ก�ำหนดไว้ใน
        รัฐธรรมนูญ โดยให้เป็นกลไกและอ�ำนำจขององค์กรอิสระเพิ่มเติมจำกกระบวนกำร

        ควบคุมไม่ให้พระรำชบัญญัติที่จะประกำศใช้ ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญโดย
        ศำลรัฐธรรมนูญตำมระบบปรกติ



               ตัวอย่างบทบัญญัติรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับสิทธิชุมชนในกรณี
        ต่างประเทศ


               “ชุมชน” เป็นหน่วยในทางสังคมและเป็นหน่วยพื้นฐานของทุก ๆ สังคมและ
        ทุกประเทศ ในลักษณะท�านองเดียวกันกับ “ปัจเจกบุคคล” ความเป็นปัจเจกบุคคล

        มีสถานะภาพในทางกฎหมายด้วยเหตุที่สามารถที่จะเห็นจับต้องได้ในทางกายภาพ
        และสามารถที่จะแสดงออกเคลื่อนไหวมีปฏิสัมพันธ์กันในลักษณะต่าง ๆ ที่ระบบ

        กฎหมายสามารถที่จะระบุออกมาเป็นรายละเอียดในด้านต่าง ๆ เพื่อสร้างหรือก�าหนด
        เป็นรายละเอียดขอบเขตในรูปแบบข้อก�าหนดต่าง ๆ ได้ง่ายกว่า “ความเป็นชุมชน”

        แม้กระนั้นก็ตาม ควำมคิดในกำรรับรอง “ควำมเป็นชุมชน” ในทำงกฎหมำย
        ก็มิได้เป็นเรื่องใหม่ หรือไม่สำมำรถที่จะก�ำหนด “ควำมเป็นชุมชน” ให้มีสถำนะ

        ในทำงกฎหมำย หรือก�ำหนดขอบเขตของ สิทธิ อ�ำนำจ หรือ หน้ำที่ได้เลย
        และในความเป็นจริงแล้ว “ความเป็นชุมชน” กลับมีปรากฎอยู่แล้วในแทบจะทุกระบบ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70