Page 88 - kpiebook65017
P. 88
87
การก�าหนดอัตราภาษีไว้ (Tax Ceiling) โดยฝ่ายบริหารสามารถออกกฎหมายล�าดับรอง
ก�าหนดอัตราภาษีภายในเพดานตามที่พระราชบัญญัติก�าหนดไว้ นอกจากนี้ ในกรณีที่
มีความจ�าเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยภาษี อากร หรือเงินตราที่ต้องพิจารณาโดยด่วน
และลับแล้ว ยังคงเป็นเรื่องที่อยู่ในอ�านาจของฝ่ายบริหารในการตราพระราชก�าหนด
ได้อยู่ แต่อย่างไรก็ดี หากเป็นเรื่องเกี่ยวกับการก�าหนดฐานภาษี อัตราภาษี และวิธีการ
ค�านวณภาษี แล้ว เป็นเรื่องที่สมควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีการก�าหนดให้สามารถกระท�าได้
81
โดยการตรากฎหมายในระดับพระราชบัญญัติเท่านั้น
การรับรองหลักยินยอมทางภาษีไว้ในรัฐธรรมนูญย่อมท�าให้ศาลรัฐธรรมนูญ
สามารถควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายภาษีไม่ว่าจะเป็นพระราชบัญญัติ
หรือพระราชก�าหนดได้มากขึ้นเพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิของประชาชน อีกทั้งยังเป็น
การก�าหนดกรอบการใช้อ�านาจในการตรากฎหมายล�าดับรองทางภาษีของฝ่ายบริหาร
ซึ่งท�าให้ศาลปกครองสามารถควบคุมความชอบด้วยกฎหมายล�าดับรองทางภาษีได้ดี
ยิ่งขึ้นและยังเป็นการลดปัญหาการออกกฎหมายล�าดับรองที่น�าไปสู่การขาดรายได้
จากการยกเว้นภาษีเฉพาะรายหรือรายจ่ายแผ่นดินที่เป็นภาษี (Tax Expenditure)
ได้ดียิ่งขึ้นด้วย
การรับรองหลักความยินยอมทางภาษีในรัฐธรรมนูญนอกจากท�าให้รัฐธรรมนูญ
ของประเทศไทยสะท้อนหลักการของระบอบประชาธิปไตยและเป็นการคุ้มครองสิทธิ
ของประชาชนผู้เสียภาษีมากขึ้นแล้ว ในอีกทางหนึ่งจะการจัดเก็บภาษีในเรื่องที่ส�าคัญ
จะต้องตราเป็นพระราชบัญญัติเท่านั้นซึ่งท�าให้รัฐสภามีอ�านาจในการตรวจสอบการด�าเนิน
นโยบายทางภาษีและมาตรการทางภาษีของฝ่ายบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
อันเป็นการสร้างเสริมวินัยทางการคลังด้านรายได้สาธารณะของประเทศไทยให้ฐานะ
ทางการคลังของประเทศมีความมั่นคงและยั่งยืนในอนาคตมากขึ้นด้วย
81 เพิ่งอ้าง 40.