Page 25 - kpiebook64008
P. 25

ความเข้าใจของประชาชนในบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีน้อย ความคุ้นเคยกับการรวมศูนย์
                         โครงสร้างการบริหารผ่านหน่วยงานราชการ องค์กรของรัฐท าให้ความตื่นตัวในการสร้างความร่วมมือ

                         และการให้ความส าคัญกับการเลือกตั้งยังพบปัญหาอีกมาก

                       2. ปัญหาความมีอิสระในการปกครองของตนเอง ที่เกิดค าถามว่า ความเป็นอิสระขององค์กรปกครอง
                         ส่วนท้องถิ่นควรมีแค่ไหน โดยเฉพาะการยังคงให้ส่วนกลางคอยก ากับดูแล เนื่องจากความเชื่อเรื่องความ
                         ไม่พร้อมของทั้งบุคลากรและการบริหารจัดการ

                       3. ปัญหาด้านการคลัง คือ เรื่องของรายได้ที่บางท้องถิ่นมีรายได้น้อยและยังต้องพึ่งพางบประมาณจาก

                         ส่วนกลาง ท าให้หน่วยการปกครองท้องถิ่นหลายพื้นที่เจอปัญหาอุปสรรคในการวางแผนการพัฒนา
                         ขับเคลื่อนนโยบายในพื้นที่ได้ล่าช้า

                       4. ปัญหาด้านโครงสร้าง คือ การที่โครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ใน
                         การปกครองส่วนท้องถิ่น

                       5. ปัญหาประสิทธิภาพในการบริหารในท้องถิ่นมักเชื่อมโยงระหว่างความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                         กับความสามารถปัญหาของพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งมีความแตกต่างกัน รวมถึงรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                       6. ปัญหาด้านนโยบาย ในการก าหนดนโยบายท้องถิ่นจ าเป็นต้องมีแนวทางที่สอดคล้องไปกับนโยบายของ

                         รัฐ ควบคู่ไปกับความต้องการของประชาชน ดังนั้นการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก าหนดนโยบาย
                         การพัฒนาพื้นที่ตนเอง ซึ่งมีความแตกต่างเชิงบริบทค่อนข้างมาก แต่ข้อจ ากัดของกฎ ระเบียบ และ
                         ระบบการบริหารจัดการงบประมาณที่ไม่ได้มีอิสระเต็มที่ท าให้นโยบายส่วนใหญ่เชื่อมโยงกับนโยบาย
                         การเมืองระดับชาติและกับส่วนกลางมากกว่าความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น

                       การเลือกตั้งท้องถิ่นโดยตรง

                       มรุต วันทนากร (2548) ชี้ให้เห็นข้อถกเถียงประการหนึ่งที่เป็นปัญหาของการปกครองส่วนท้องถิ่น คือ เรื่อง

              รูปแบบและวิธีการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรงมาใช้ในประเทศไทยเกิดขึ้นมาอย่างช้านานจากเหตุผลส าคัญ
              3 ประการคือ

                       1.  ที่ผ่านมาในอดีต การบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยไม่มีเสถียรภาพ อ่อนแอ และไม่สามารถ
                          ท างานได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากระบบการเลือกตั้งนายกทางอ้อม คือ สมาชิกสภาฯ เป็นผู้เลือกนายก
                          อบจ. ท าให้สภาท้องถิ่นสามารถก าหนดทิศทางในการบริหารของฝ่ายบริหารได้มากเกินไป รวมตลอดจนถึง

                          สามารถก าหนดความอยู่รอดของฝ่ายบริหารท้องถิ่นได้เช่นกัน จึงมีความเชื่อว่าหากน าระบบการเลือกตั้ง
                          ผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรงมาใช้แทนแล้ว จะท าให้ฝ่ายบริหารมีเสถียรภาพมากขึ้น เนื่องจากมีการแยกฝ่าย
                          บริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติออกจากกันอย่างชัดเจน และผู้บริหารท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของ

                          ประชาชน ซึ่งจะเป็นฐานรองรับอ านาจที่ส าคัญของนายก อบจ. และยังน ามาสู่ความเข้มแข็งของกลุ่มหรือ
                          เครือข่ายทางการเมืองในการลงสมัคร ส.อบจ. ได้ด้วย

                       2.  การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรงจะท าให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งระดับ อบจ. เทศบาล และ
                          อบต. สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น เพราะมีฝ่ายบริหารมา






                   โครงการศึกษาการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น ปี 2563: การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่   4
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30