Page 23 - kpiebook64008
P. 23
อ าเภอที่มี จ านวนเขต จ านวนประชากร อ าเภอที่ไม่มี จ านวนประชากร
การแบ่งเขตเลือกตั้ง (คน) การแบ่งเขตเลือกตั้ง (คน)
1. อ าเภอเมืองเชียงใหม่ 5 233,632 1. อ าเภอจอมทอง 66,792
2. อ าเภอดอยสะเก็ด 2 74,172 2. อ าเภอไชยปราการ 46,013
3. อ าเภอหางดง 2 90,128 3. อ าเภอดอยเต่า 27,406
4. อ าเภอสันก าแพง 2 87,640 4. อ าเภอดอยหล่อ 26,052
5. อ าเภอสันป่าตอง 2 75,097 5. อ าเภอพร้าว 49,120
6. อ าเภอแม่อาย 2 78,565 6. อ าเภอแม่แจ่ม 59,728
7. อ าเภอฝาง 3 120,759 7. อ าเภอแม่วาง 31,834
8. อ าเภอเชียงดาว 2 96,494 8 .อ าเภอแม่ออน 21,266
9. อ าเภอสารภี 2 85,565 9. อ าเภอสะเมิง 23,690
10. อ าเภอแม่แตง 2 80,303 10. อ าเภอเวียงแหง 45,149
11. อ าเภอแม่ริม 2 94,337 11. อ าเภออมก๋อย 62,833
12. อ าเภอสันทราย 3 135,964 12. อ าเภอฮอด 43,849
13. อ าเภอกัลยาณิวัฒนา 12,265
ตาราง 1.1 ข้อมูลการแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ.2563
ที่มา ส านักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจ าจังหวัดเชียงใหม่ (2563)
การเลือกตั้งในระดับ อบจ. นับเป็นการเลือกตั้งท้องถิ่นครั้งแรกนับตั้งแต่มีการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2557
และเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง 76 จังหวัด จึงมีความส าคัญในฐานะที่เป็นการเลือกตั้งที่ตรวจสอบอ านาจเครือข่ายการเมือง
และผลของการเลือกตั้งทั่วไปที่เกิดขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 และเป็นหนทางในการท าความเข้าใจต่อ
การเลือกตั้งท้องถิ่นในระดับเทศบาลที่จะเกิดขึ้นตามมา ดังนั้น การเลือกตั้ง นายก อบจ. และ ส.อบจ.จึงมีความส าคัญ
ไม่ต่างกับการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยเฉพาะเป็นการเลือกตั้งของกลุ่มคนรุ่นใหม่ แม้อาจจะไม่
เรียกเป็นกลุ่ม First-time Voters เหมือนในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2562 แต่ถือว่าเป็นการเลือกตั้งท้องถิ่นครั้งแรกของผู้มี
สิทธิเลือกตั้งกลุ่มนี้ คือ ประชาชนอายุระหว่าง 18-26 ปี จะได้ใช้สิทธิเลือกตั้งท้องถิ่น ในส่วนของจังหวัดเชียงใหม่นับ
จากมีการจัดการเลือกตั้ง อบจ. ครั้งสุดท้ายในวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555 จนถึงวันเลือกตั้ง อบจ. ในวันที่ 20
ธันวาคม พ.ศ. 2563 นับเป็นเวลากว่า 8 ปี จึงปฏิเสธไม่ได้ว่าการเลือกตั้ง อบจ. ที่เกิดขึ้นในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.
2562 เป็นผลลัพธ์ที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในระดับพื้นที่จังหวัด ท าให้เห็นทั้งบทบาทของพรรคการเมือง
และกลุ่มการเมืองในภูมิภาคต่าง ๆ ค่อนข้างมาก การเกิดขึ้นของพรรคการเมืองใหม่ กลุ่มการเมืองใหม่ ระบบเลือกตั้ง
ใหม่ ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมาส่งผลโดยตรงต่อการแบ่งขั้วและ
กลุ่มการเมืองในระดับท้องถิ่น
ปรากฎการณ์ที่น่าสนใจอีกประการคือ การเห็นรูปแบบการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งที่เน้นการใช้แนวนโยบาย
การพัฒนาเมืองและการสร้างความทันสมัยของเครื่องมือด้านไอที การเสนอแนวทางการพัฒนาการคมนาคม
ให้เหมาะสมกับการเติบโตของเมือง การหาเสียงเน้นเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร โดยเน้นประเด็นการพัฒนาการ
ท่องเที่ยวและเศรษฐกิจเพื่อให้ท้องถิ่นหลุดออกจากความคิดเรื่องการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแบบเดิม ซึ่งกรณี
โครงการศึกษาการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น ปี 2563: การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ 2