Page 23 - kpiebook63021
P. 23
เม องอัจฉริยะ นคร าร์เซโลนา
รายงานสถานการณ์ รัฐบาลท้องถิ่น icipa it ได้ให้ความสำคั มากในการพัฒนาบาร์เซโลนาให้เป นเมืองอัจฉริยะ
นครบาร์เซโลนา ประเทศสเปน ได้รับการยอมรับว่าเป นเมืองอัจฉริยะที่มีความโดดเด่นมากในยุโรป
ทั้งในด้านความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และการเติบโตของเมืองที่ยั่งยืน โดยรัฐบาลท้องถิ่นได้นำเทคโนโลยี
สารสนเทศ หรือที่เรียกกันว่า I t t hi I มาใช้เพิ่มประสิท ิภาพในการบริหารจัดการเมือง
และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับชาวเมืองบาร์เซโลนา
รัฐบาลท้องถิ่นนครบาร์เซโลนาได้พัฒนาแพลตฟอร์มป ิบัติการทางเทคโนโลยีข ้นมาตัวหน ่ง ที่เรียกว่า
it S at เป นระบบที่ใช้ในการเก บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ของเมือง โดยระบบดังกล่าวนี้
ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จะเชื่อมต่อข้อมูลด้านโครงสร้างพื้นฐาน สา ารณูปโภคและสา ารณูปการ เช่น การจราจร การควบคุม
สิ่งแวดล้อมการจัดการขยะ การใช้พลังงาน และข้อมูลเปิด p ata เข้าด้วยกันกับระบบ จากนั้นข้อมูล
ทั้งหมดจะเชื่อมต่อกันผ่านระบบประมวลผลแล้วส่งมายังศูนย์ป ิบัติการของรัฐบาลท้องถิ่นบาร์เซโลนา ทำให้
รัฐบาลท้องถิ่นสามารถนำข้อมูลแบบ a - i ไปใช้งานได้ในทันที นอกจากนี้ระบบป ิบัติการดังกล่าว
ยังเชื่อมต่อกับระบบอื่น ในประเทศสเปนอีกด้วย
ปัจจุบันนครบาร์เซโลนามีโครงการที่สนับสนุนการสร้างเมืองอัจฉริยะจำนวนมาก เช่น โครงการติดตั้ง
ระบบเซนเซอร์ที่ถังขยะ เมื่อถังขยะเต มท้องถิ่นก จะส่งเจ้าหน้าที่มาเก บขยะ, โครงการค้นหาจุดจอดรถ
อัจฉริยะ, โครงการรถจักรยานไฟฟ าเป นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ เป นต้น
นอกจากนี้รัฐบาลท้องถิ่นบาร์เซโลนายังพัฒนาระบบ ia เป นระบบถาม-ตอบเพื่อให้คำปร กษาแก่
ประชาชน ช่วยให้รัฐบาลท้องถิ่นเข้าถ งประชาชนได้มากข ้น และขณะเดียวกันก เปิดโอกาสให้ประชาชน
มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการฐานข้อมูลของรัฐ สิ่งเหล่านี้ได้ช่วยให้รัฐบาลท้องถิ่นสามารถทราบข้อมูล
ความต้องการของประชาชน และนำข้อมูลเหล่านั้นไปออกแบบนโยบายของเมืองที่สามารถตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
ตัวอย่างเมืองอัจฉริยะนครบาร์เซโลนา ได้สะท้อนให้เห นการพัฒนาเมืองไปสู่การเป นเมืองอัจฉริยะ
ระดับต้น ในยุโรปนั้นมาจากปัจจัยสำคั นั่นคือ ความสามารถของรัฐบาลท้องถิ่นในการบริหารจัดการเมือง
ได้อย่างมีประสิท ิภาพ มีการกำหนดวิสัยทัศน์และวางยุท ศาสตร์ของเมืองว่าต้องการจะพัฒนาไปสู่ทิศทางใด
โดยเริ่มจากการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน สา ารณูปโภคและสา ารณูปการของเมืองให้ดีก่อน
แล้วจ งพัฒนาระบบบริการภาครัฐให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนมากข ้น และสิ่งสำคั กว่านั้นคือ
การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการพัฒนาเมืองร่วมกับภาครัฐ โดยการสร้าง
อัตลักษณ์ของเมืองในแต่ละด้านผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน สิ่งเหล่านี้
จ งเป นปัจจัยสำคั ที่ทำให้นครบาร์เซโลนากลายเป นต้นแบบการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่โดดเด่นและน่าสนใจ
อย่างยิ่ง
อ้างอิง สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. “4 กลยุทธ์ที่สร้าง Barcelona Model ต้นแบบ Smart City ของโลก”. สืบค้นจาก
http ://www. ia. .th/ a c a
ศูนย์ ุรกิจสัมพัน ์ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ. “บาร์เซโลนาต้นแบบเมืองอัจฉริยะ”.
สืบค้นจาก http :// thai a .c / pai 0002/
2 สถาบันพระปกเก ้า