Page 18 - kpiebook63021
P. 18

30 นาทีจากสถานีหน ่งไปยังสถานีหน้าที่ทำงานของคุณ นอกจากนี้คุณยังสามารถเข้าแอพลิเคชั่นตรวจดู
                        สายรถประจำทางและคำนวณระยะเวลาได้อย่างแม่นยำ ทำให้คุณไม่ต้องรีบร้อนออกจากบ้านในเช้าวันจันทร์
                        คุณจ งลุกจากเตียงนอนไปวิ่งออกกำลังกาย 30 นาที ที่สวนสา ารณะแถวบ้านที่มีคุณภาพอากาศดี มีชมรม

                        ออกกำลังกายตอนเช้าให้คุณเดินไปทักทายสนทนาด้วยกัน จากนั้นคุณก มาอาบน้ำเปลี่ยนชุดออกจากบ้าน        รายงานสถานการณ์
                        เวลา 06.00 น. โดยใช้บริการแอพลิเคชั่นกดเรียกพี่วินมอเตอร์ไซค์ที่ข ้นทะเบียนร่วมให้บริการกับหน่วยงาน

                        ท้องถิ่นในพื้นที่บ้านของคุณ ไปส่งยังป ายรถเมล์ คุณยืนรอเพียง 5 นาที รถเมล์ก มาถ ง แล้วไปต่อรถไฟฟ า
                        มาลงที่ทำงานของคุณ และสุดท้ายถ งที่ทำงานเวลา 07.00 น. ดังนั้นคุณจ งมีเวลาเหลือเฟ อไปนั่งจิบกาแฟ
                        นั่งเตรียมตัวประชุมงานกับผู้บริหาร แล้วยังมีเวลานั่งอ่านหนังสือที่คุณชื่นชอบอีกด้วย


                              จากเรื่องสมมติเมือง   และเมือง B ข้างต้นนี้ เป นเพียงแค่เรื่องสมมติการเดินทางออกจากบ้านเพื่อไป
                        ทำงานในตอนเช้า หลายท่านพอจะรู้ส กว่า การใช้ชีวิตอยู่ในเมือง   นั้นช่างเหนื่อยหน่ายเหลือเกิน อีกทั้ง

                        ยังเสียเวลาในชีวิตและเสียเงินในการเดินทางไปหลายบาท แต่ขณะที่การใช้ชีวิตอยู่ในเมือง B นั้นกลับน่าอยู่
                        กว่ามาก หรือพูดง่าย  คือ  ม ช  ิตท  สมาร ท    art  ก ่า  เพราะเมือง B มีระบบสารสนเทศข้อมูลและ
                        เทคโนโลยีมาใช้อำนวยความสะดวก และช่วยตัดสินใจในการใช้ชีวิตประจำวันในเมืองได้เป นอย่างดี ทำให้

                        ทุกคนในเมืองสามารถเข้าถ งบริการสา ารณะได้อย่างทั่วถ ง หรือพูดง่าย  คือ   ม อง   ช  ิตด   ท  ลงตั
                        นั่นเอง


                              เมื่อถ งตรงนี้ ทุกท่านพอจะเริ่มเห นภาพแล้วว่า เหตุใดเราจ งจำเป นต้องสร้างเมืองที่ชา ฉลาดและ
                        ยั่งยืนทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้แล้วเมืองที่ชา ฉลาดนั้นจะต้องมีความพร้อม  ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        ของบริการสา ารณะประเภทต่าง  ที่สามารถสนับสนุนให้ผู้คนที่อยู่ในเมืองมีคุณภาพชีวิตที่ดีข ้น รู้ส กถ ง
                        ความเท่าเทียม ทั่วถ ง ปลอดภัย ตลอดจนสามารถตอบสนองความต้องการของผู้คนได้อย่างรอบด้าน โดยใช้
                        ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเต มประสิท ิภาพ และด้วยเหตุนี้เองจ งเป นที่มาว่า ทำ ม า รั

                          งต้อง ห้  ามสำ ั แล   า ามขับ  ล  อนการ ั นา ม องอั  ริ   ก เพราะว่ามีปัจจัยผลักดันในหลาย
                        ประการ ดังจะกล่าวถ งต่อไปนี้


                          2.1  ป จจัยส คั ที่ ลักดันให้เกิดการขั เคล ่อนนโย ายการพัฒนาเม องอัจฉริยะ

                                การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร วในศตวรรษที่ 21 ได้ส่งผลให้เกิดความท้าทายต่อนโยบายการพัฒนา

                        เมืองเป นอย่างมาก จนนำไปสู่แนวทางและเครื่องมือในการบริหารจัดการเมืองชุดใหม่ ที่เรียกกันว่า
                        การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ  S a t  it   เป นแนวทางและเครื่องมือที่ให้ความสำคั กับการพัฒนาเมือง

                        ในทุกมิติ การนำแนวทางการพัฒนาเมืองดังกล่าวนี้มาขับเคลื่อนในประเทศไทยก ย่อมมีปัจจัยหลายประการ
                        ที่มาผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนจนเกิดเป นนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับรัฐข ้นมา ในส่วนนี้
                        จะพาผู้อ่านทุกท่านไปสำรวจปัจจัยต่าง  เหล่านี้ด้วยกัน


                                   การกลา    น ม อง   bani ation  ได้กลายเป นปัจจัยสำคั อย่างหน ่งของการเปลี่ยนแปลง
                        ที่เกิดข ้นในปัจจุบัน ประเทศไทยมีแนวโน้มเข้าสู่ความเป นเมืองมากข ้น เกิดการหลั่งไหลของผู้คนจำนวนมาก

                        เข้าสู่พื้นที่เมือง อีกทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนให ่มีแนวโน้มเติบโตมากในพื้นที่เมืองอย่างมีนัยสำคั
                        ความหมายของเขตเมืองตามการบริหารราชไทยนั้นคือ เขตเทศบาล หากเราพิจารณาย้อนหลังไปถ งช่วงปี

                        พ.ศ. 2540 ประเทศไทยมีจำนวนเทศบาลเพียง 149 แห่งเท่านั้น จนกระทั่งเกิดการป ิรูปท้องถิ่นภายใต้



                                                                                                 สถาบันพระปกเก ้า   7
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23