Page 21 - kpiebook63021
P. 21

เป นเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลจำนวนมากเข้าด้วยกัน อีกทั้งยังสามารถโอนถ่ายและเก บรักษา
                     ข้อมูลที่หลากหลายได้ในปริมาณมหาศาล อันจะช่วยให้การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป นกำลังสำคั ในการ
            รายงานสถานการณ์   ขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศได้เป นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วได้นำ


                     เทคโนโลยี I   มาสร้างความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากร
                     ในประเทศ ไม่ว่าจะเป นในด้านการเกษตร เทคโนโลยีสารสนเทศ การวิเคราะห์ข้อมูลในระดับประเทศ

                     การพัฒนาเมือง รวมถ งการพัฒนาระบบสา ารณูปโภค โดยตัวอย่างที่เราสามารถเห นได้อย่างชัดเจน คือ
                     การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ  S a t  it   ก เป นอีกตัวอย่างหน ่งที่เห นได้ชัดเจนจากการนำเทคโนโลยี I   มาใช้
                     ในการบริหารจัดการเมือง มีการเก บข้อมูลสภาพการจราจร สภาพอากาศ สภาพแวดล้อม แล้วส่งข้อมูล

            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                     เชื่อมต่อไปยังระบบ       จากนั้นรัฐก สามารถด งข้อมูลออกมาวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางการป องกัน
                     อุบัติเหตุ การแจ้งเตือนสภาพอากาศสภาพจราจร รวมถ งสามารถวิเคราะห์ถ งการวางแผนพัฒนาระบบ

                     โครงสร้างพื้นฐานต่อไปในอนาคตได้อีกด้วย

                            ปัจจัยทั้งหมดที่กล่าวมานี้ได้สะท้อนให้เห นความท้าทายอย่างยิ่งของประเทศไทยที่จะต้อง
                     ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ โดยอาศัยเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

                     ของประชาชน พัฒนาขีดความสามารถทางเศรษฐกิจและสังคม ในส่วนต่อไปนี้จะชวนทุกท่านมาสำรวจ
                     การขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะว่ามีการขับเคลื่อนอย่างไร  มีใครเข้ามาเกี่ยวข้องบ้าง

                     แล้วองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามาเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอย่างไร และทำไมการพัฒนา
                     เมืองอัจฉริยะจะต้องเริ่มที่ท้องถิ่น


                       2.2 นโย ายการพัฒนาเม องอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                            แนวคิดเมืองอัจฉริยะ  S a t  it   เป นแนวคิดหน ่งของการพัฒนาเมืองที่เกิดข ้นในศตวรรษที่ 21

                     ในช่วงเวลานั้นเอง ประเทศแถบยุโรปและอเมริกากำลังเผชิ กับปั หาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและ
                     สังคมสูงมาก อีกทั้งมีประชาชนจำนวนไม่น้อยที่ไม่มีโอกาสเข้าถ งระบบโครงสร้างพื้นฐานและสา ารณูปโภค
                     ของรัฐ จ งทำให้รัฐบาลในยุโรปและอเมริกาพยายามหาทางออก โดยใช้วิ ีการพัฒนาเมืองนำการพัฒนา

                     ประเทศ และหน ่งในวิ ีการพัฒนาเมืองที่ได้รับความนิยมนั้น คือ เมืองอัจฉริยะ รัฐจ งได้นำเอาเทคโนโลยี
                     สารสนเทศมาเชื่อมต่อกับระบบอินเตอร์เน ตและโครงข่ายโทรคมนาคมในเมือง เพื่ออำนวยความสะดวก

                     กับประชาชน สร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจให้กับ ุรกิจขนาดเล ก และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
                     ในเมืองไปพร้อม  กัน ด้วยเหตุนี้ แนวคิดเมืองอัจฉริยะจ งได้รับความนิยมจนกลายมาเป นทางออกหน ่ง
                     ในการแก้ปั หาของเมืองในยุคนี้


                            สาระสำคั ของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะนั้นอยู่ที่การเปลี่ยนกระบวนทัศน์การพัฒนาเมืองแบบใหม่
                     จากเดิมที่เรามุ่งเน้นการพัฒนาเมืองในเชิงกายภาพก ได้เปลี่ยนมาสู่การพัฒนาเมืองที่ต้องคำน งถ ง

                     ความต้องการของประชาชนอย่างรอบด้านมากข ้น ไม่ว่าจะเป นด้านสังคม เศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐาน
                     สา ารณสุข การศ กษา สิ่งแวดล้อม เป นต้น นอกจากนี้แนวทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะยังให้ความสำคั กับ

                     การวางวิสัยทัศน์ของเมือง การวางยุท ศาสตร์และทิศทางของเมืองที่จะมุ่งไปข้างหน้า โดยอาศัย
                     กระบวนการออกแบบอย่างมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน และการใช้เทคโนโลยีเข้ามาเป นเครื่องมือ
                     ในการบริหารจัดการเมือง หรืออาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า การพัฒนาเมืองอัจฉริยะนี้จำเป นต้องอาศัย





                      สถาบันพระปกเก ้า
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26