Page 26 - kpiebook63021
P. 26
จากกรณีตัวอย่างการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในต่างประเทศที่นำเสนอไปข้างต้นนี้ พอจะทำให้เห น
แล้วว่า การเติบโตของเมืองในปัจจุบันนี้ได้ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการของหน่วยงานที่ได้ชื่อว่า องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถือเป นหน่วยงานในระดับพื้นที่
ที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด รู้ปั หาในพื้นที่ได้ดีที่สุด อีกทั้งยังมีหน้าที่ในการจัดบริการสา ารณะ รายงานสถานการณ์
ในพื้นที่โดยตรง ไม่ว่าจะเป นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ การส่งเสริมคุณภาพ
ชีวิต การจัดระเบียบชุมชน การส่งเสริมศิลปะวัฒน รรม อีกทั้งการกำหนดทิศทางการพัฒนาเมืองในระดับ
ท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป นภารกิจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนและการแก้ไขปั หาในพื้นที่ได้อย่างทันท่วงที อันนำมาสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
ดังนั้นแล้วจ งนับได้ว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป นกลไกสำคั ในการบริหารจัดการเมืองและพัฒนาเมือง
ในระดับพื้นที่ การพัฒนาเมืองอัจฉริยะจ งควรมุ่งไปที่การให้อำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหาร
จัดการและรองรับการเติบโตของเมืองได้อย่างมีประสิท ิภาพ
นอกจากนี้แล้วลักษณะสำคั อีกประการหน ่งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นั่นคือ การมี
ส่วนร่วมของประชาชน ถือเป นลักษณะสำคั ที่สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถบริหาร
จัดการเมืองได้อย่างมีประสิท ิภาพ เพราะการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เปิดโอกาสให้ประชาชน
เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางการพัฒนาและตัดสินใจเกี่ยวกับชีวิตความเป นอยู่ของประชาชนเอง
โดยการให้อำนาจแก่ประชาชนในการจัดการดูแลบ้านเกิดชุมชนของตนเอง ประชาชนมีอิสระในการ
ดำเนินการในเรื่องต่าง ที่เป นประโยชน์สา ารณะเพื่อพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทีนี้ย้อนกลับมาที่นโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ เราพอจะเห นแล้วว่า การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ในหลาย ประเทศต่างก ให้อำนาจแก่รัฐบาลท้องถิ่นในการขับเคลื่อนเมืองให้เป นไปตามทิศทางที่ต้องการ
หากแต่การพัฒนาเมืองอัจฉริยะของไทยนั้นกลับให้อำนาจรัฐส่วนกลางเป นผู้กำหนดทิศทางการพัฒนา อีกทั้ง
นโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะจากรัฐส่วนกลางยังส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นจำเป นจะต้องกำหนด
รายละเอียดให้มีความสอดคล้องกับแผนชาติและยุท ศาสตร์ชาติอีกด้วย ดังจะเห นได้จาก ปัจจุบันนี้รัฐบาล
ได้ให้ความสำคั กับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอย่างมาก ภายใต้การขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 เพื่อนำพาประเทศไทยบรรลุตามวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศที่ว่า
ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป นประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามปรัช าของเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยได้มีการกำหนดแนวทางพัฒนาตามยุท ศาสตร์ไว้ 10 ยุท ศาสตร์ ดังนี้
5
ยุท ศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
ยุท ศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป น รรมและลดความเหลื่อมล้ำ
ยุท ศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
ยุท ศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ยุท ศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน
5 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนฯ 12 ฉบับประชาชน นวัตกรรมคือ หัวใจของ
การพัฒนา . สืบค้นจาก http ://www. c. .th/ wt i k.php i 8309 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2563
สถาบันพระปกเก ้า 5