Page 22 - kpiebook63021
P. 22
การวิเคราะห์ปั หาและความต้องการของประชาชนในเมืองเป นที่ตั้ง แล้วจ งวางแผนและออกแบบเมือง
ให้สอดคล้องกับปั หาและความต้องการของประชาชนนั้น a- a p t โดยอาศัย
เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ควบคู่กันไป นอกจากนี้การพัฒนาเมืองอัจฉริยะให้ประสบความสำเร จ
4
จะต้องเข้าใจสาระสำคั ใน 3 ส่วน นั่นคือ รายงานสถานการณ์
1 . เมืองอัจฉริยะจะต้องเกิดจากความต้องการและการเรียกร้องจากประชาชนในท้องถิ่น เพราะ
การกำหนดวิสัยทัศน์และยุท ศาสตร์ของเมืองว่าจะเป นเมืองอัจฉริยะในด้านใด จะต้องข ้นอยู่กับบริบท
ของท้องถิ่นนั้น อีกทั้งผู้กำหนดนโยบายจะต้องเข้าใจปั หาและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น
อย่างแท้จริงว่า ประชาชนในฐานะเจ้าของพื้นที่ต้องการเห นเมืองของเขาเติบโตและพัฒนาไปในทิศทางใด
2 . เมืองอัจฉริยะจะต้องถูกกำหนดให้เป นนโยบายที่จะต้องเร่งดำเนินการโดยด่วน มีสาระสำคั
รายละเอียดแผนงาน/โครงการที่ชัดเจน มีหน่วยงานใดบ้างที่จะต้องเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในฐานะหน่วยงานระดับพื้นที่ที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด มีหน้าที่
โดยตรงในการจัดบริการสา ารณะในพื้นที่จะต้องดำเนินนโยบายอย่างไรบ้าง
3 . เมืองอัจฉริยะจะต้องไม่ใช่เพียงนโยบายรัฐที่ลงมาจากส่วนกลางเท่านั้น แต่จะต้องเกิดจาก
ความร่วมมือของภาคส่วนต่าง ในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป นหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานรัฐส่วนกลาง ภาค ุรกิจและภาคประชาชน จะต้องประสานความร่วมมือกันเพื่อขับเคลื่อนทิศทาง
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะร่วมกัน
คำถามสำคั ต่อไปนี้ ก คือแล้ หตุ ดการ ั นา ม องอั ริ ำ นต้อง ริ ม ากอง กร ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ก รองส่ นท้อง ิ น ก่อนจะตอบคำถามนี้อยากชวนผู้อ่านทุกท่านไปดูตัวอย่างการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ในต่างประเทศที่นำการพัฒนาโดยรัฐบาลท้องถิ่น
4 เอกชัย สุมาลี และชัยวุฒิ ตันไชย. 2562 . เมืองอัจฉริยะ: แนวคิดพื้นฐานและระบบปฏิบัติการสำหรับเมืองในยุคดิจิทัล.
กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สถาบันพระปกเก ้า