Page 19 - kpiebook63021
P. 19
รัฐ รรมนู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้ส่งผลให้เกิดการยกฐานะสุขาภิบาลหลายแห่งข ้นเป น
เทศบาล ผลที่ตามมาได้ทำให้ประเทศไทยมีจำนวนเทศบาลเพิ่มข ้นอย่างก้าวกระโดดเป นจำนวนพันกว่าแห่ง
รายงานสถานการณ์ และในปัจจุบันประเทศไทยมีเทศบาลรวมทั้งสิ้น 2,454 แห่ง ข้อมูลเหล่านี้ได้สะท้อนให้เห นสั าณ
1
การเติบโตของพื้นที่เมืองในประเทศไทยมาอย่างต่อเนื่อง
หากแต่การเติบโตของเมืองกลับไม่สอดคล้องกับสภาพความเป นจริง ส่วนหน ่งพบว่าโครงสร้าง
การบริหารราชการไทยยังคงมีความล่าช้า มุ่งเน้นนโยบายรวมศูนย์อำนาจที่รัฐส่วนกลาง ส่งผลให้
การออกแบบการบริหารจัดการเมืองไม่ได้มุ่งเน้นไปที่ท้องถิ่นโดยตรง หรือที่เรียกกันว่า a- a
p t ทำให้การพัฒนาเมืองของไทยประสบปั หาเมืองโตเดี่ยว เกิดการกระจุกตัวทางเศรษฐกิจ
ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อย่างหนาแน่น ผู้คนที่อพยพเข้ามาในเมืองจำนวนมาก รวมไปถ งประสบปั หาการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
สา ารณูปโภคและสา ารณูปการในเมือง ดังนั้นแล้ว สิ่งเหล่านี้จ งเป นความท้าทายและความจำเป นของรัฐ
ที่จะต้องแก้ปั หาและบริหารจัดการเมืองได้อย่างทั่วถ งและมีประสิท ิภาพ เพื่อทำให้ประชาชนที่อยู่ในเมือง
มีคุณภาพชีวิตที่ดีข ้น
การ ข้า ง ท น ล สารสน ท ของ ร ชาชน เป นอีกประเด นที่ถูกท้าทายอย่างยิ่ง
ในยุคปัจจุบันที่มีการเติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างรวดเร ว เทคโนโลยีสารสนเทศ
ได้เข้ามามีบทบาทต่อการดำรงชีวิตของประชาชน เพื่อใช้เป นเครื่องมือในการเข้าถ งทรัพยากร เข้าถ ง
องค์ความรู้ เข้าถ งการสื่อสารได้อย่างสะดวก รวดเร ว และเท่าเทียมกัน หากแต่การเข้าถ งเทคโนโลยี
สารสนเทศของคนไทยกลับมีความแตกต่างกัน จนกระทั่งปราก ให้เห นความเหลื่อมล้ำในการเข้าถ ง
เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าถ งอินเตอร์เน ต ซ ่งเป นช่องทางหน ่งในการพัฒนาศักยภาพ
ของมนุษย์ ช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ต่าง ทำให้การเข้าถ งเทคโนโลยี
สารสนเทศของประชาชนกลายเป นตัวชี้วัดหน ่งในด้านความเหลื่อมล้ำ
จากข้อมูลสถิติของ กสทช. มีนาคม 2563 ได้ชี้ให้เห นตัวเลขสถิติการเข้าถ งเทคโนโลยีสาร
สนเทศของคนไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552-2562 พบว่า คนไทยมีแนวโน้มการเข้าถ งเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่ม
ข ้นทุกปี โดยเฉลี่ยเพิ่มข ้นร้อยละ 9.23 ซ ่งจำนวนผู้เข้าถ งเทคโนโลยีส่วนให ่พบมากในเขตเมือง ผู้ที่เข้าถ ง
2
เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถเข้าถ งความรู้และทรัพยากร ยิ่งไปกว่านั้นยังสามารถควบคุมและกำหนด
ทิศทางเศรษฐกิจและสังคมได้มากกว่าผู้ที่เข้าไม่ถ ง ขณะเดียวกันผู้ที่เข้าไม่ถ งเทคโนโลยีสารสนเทศก จะถูก
รบกวน หรือที่เราเรียกกันว่า i pt ให้ออกไปจากระบบตลาด เกิดสภาวะที่ไม่เท่าเทียมกันทางความรู้
ความสามารถและทรัพยากรต่าง อีกทั้งยังสะท้อนให้เห นความไม่พร้อมและความไม่เท่าเทียมกันทางด้าน
เทคโนโลยี ซ ่งส่งผลกระทบต่อไปยังระบบเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ ด้วยเหตุนี้ รัฐจ งให้
ความสำคั กับการเข้าถ งเทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชนให้ทั่วถ งทุกพื้นที่ เพื่อยกระดับโครงสร้าง
พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับประเทศและสร้างโอกาสให้กับประชาชนทุกคนอย่างเท่าเทียม
1 ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ, กลุ่มงานก หมายและระเบียบท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น,
http://www. a. .th/w k/a t/ a i . p สืบค้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2563
2 รายงานดัชนีชี้วัดในกิจการโทรคมนาคมของประเทศไทย ประจำปี 2561-2562, สำนักงานคณะกรรมการกิจการ
ขยายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. จาก http :// it. /3 p7 k8 สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2563
8 สถาบันพระปกเก ้า