Page 20 - kpiebook63021
P. 20
การ ั นาร บบ ท น ล น า รั หรือที่เรามักได้ยินกันว่า รัฐบาลดิจิทัล เมื่อประเทศ
ทั่วโลกต่างก้าวเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีดิจิทัล ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในหลายภาคส่วน โดยเฉพาะ
ภาครัฐของไทยได้เริ่มให้ความสำคั กับการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีมาใช้เป นเครื่องมือในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจและพัฒนาประเทศ รวมถ งการปรับปรุงประสิท ิภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้มีความทันสมัย รายงานสถานการณ์
มากยิ่งข ้น ด้วยเหตุนี้เอง แนวคิดการพัฒนาระบบเทคโนโลยีในภาครัฐ หรือรัฐบาลดิจิทัล จ งเป นแนวคิด
ที่เริ่มต้นข ้นในการประชุมคณะกรรมการเตรียมการด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจดิจิทัลและสังคม เมื่อวันที่
8 กุมภาพัน ์ 2559 โดยที่ประชุมมีมติเห นชอบร่างแผนพัฒนาดิจิทัลฯ เพื่อป ิรูปประเทศไทยสู่การสร้างสรรค์
และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน นวัตกรรม ข้อมูล และทรัพยากรมนุษย์
ได้อย่างเต มศักยภาพ
การผลักดันภาครัฐไทยสู่การเป นรัฐบาลดิจิทัลได้ก่อให้เกิดแนวโน้มที่สำคั ในประเทศไทย
หลายด้าน และแนวโน้มดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อประชาชนและหน่วยงานภาครัฐไทย จ งจำเป นที่รัฐบาล
ต้องเตรียมความพร้อมรองรับการพัฒนาเทคโนโลยีต่าง เช่น การพัฒนาระบบข้อมูลพื้นฐานจากบัตร
ประชาชนและทะเบียนบ้านบนเครือข่ายอินเตอร์เน ต, การพัฒนาระบบ p ti ที่เชื่อมโยง
ข้อมูลในระบบเข้าด้วยกัน, การสร้างชุดข้อมูลของรัฐ ได้แก่ ata t , p ata และ Bi ata
เพื่อให้ภาครัฐมีชุดข้อมูลที่ง่ายต่อการวางแผนพัฒนาและบริหารประเทศ เป นต้น รัฐบาลเชื่อว่าการพัฒนา
ระบบเทคโนโลยีในภาครัฐจะช่วยยกระดับการทำงานภาครัฐ และช่วยให้ประชาชนเข้าถ งข้อมูลของรัฐได้
มากข ้น ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การ ั นา ุณ า ช ิตของ ร ชาชน หรือที่เรียกอย่างเข้าใจง่าย ว่า การสร้างความกินดี
อยู่ดีให้กับประชาชน นั่นเอง นโยบายของรัฐไทยที่ผ่านมานั้นไม่ได้ให้ความสำคั กับการทำงานเชิงรุกมากนัก
จ งทำให้การแก้ปั หาคุณภาพชีวิตของประชาชนเกิดความล่าช้า ก้าวไม่ทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ที่เกิดข ้น ด้วยเหตุนี้จ งกลายเป นโจทย์ให ่ของรัฐไทยในปัจจุบันนี้
แม้ว่าในช่วงเวลาที่ผ่านมาสัดส่วนของคนจน ความยากจนแบบสัมบูรณ์ มีแนวโน้มลดลง
หากแต่การกระจายรายได้กลับมีแนวโน้มที่ไม่ดีข ้น ยังคงมีประชาชนอีกจำนวนมากที่ยังคงมีชีวิตความเป นอยู่
ที่ยากลำบาก สอดคล้องกับข้อมูลของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ปี 2561 ได้ชี้ให้เห นว่า ประเทศไทยยังคงมีผู้ที่มีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาท/ปี ซ ่งเป นรายได้ที่ต่ำกว่า
3
เส้นความยากจน t i มีจำนวนกว่า 5.8 ล้านคน อีกทั้งยังมีความเหลื่อมล้ำสูงระหว่างคนจนกับ
คนรวย โดยมีกลุ่มคนเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น ที่ถือครองทรัพย์สินมากกว่าคร ่งหน ่งของประเทศ
ดังนั้นแล้วการสร้างความกินดีอยู่ดีให้กับประชาชนจ งไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก รัฐบาลจ งต้องเร่งแก้ปั หา
ความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ เพื่อสร้างความเป น รรมและความมั่งคั่งให้กับประชาชนทุกกลุ่ม
การ ั นาอ ่างก้า กร ดดของ ท น ล nt rn t of Thing oT ได้กลายเป น
จุดเปลี่ยนสำคั ของการสร้างความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจโลก เทคโนโลยีที่เราเรียกกันว่า I
3 รายงานสถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ในระดับภาคของประเทศไทย, สำนักงานพัฒนาฐาน
ข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, จาก http ://www. c. .th/
wt w3c/ wt i k.php i 7787 สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2563
สถาบันพระปกเก ้า 9