Page 25 - kpiebook63021
P. 25

เม องอัจฉริยะ   กรุงเวียนนา

            รายงานสถานการณ์   นับตั้งแต่ปี 2010-2019 และยังได้รับการยอมรับให้เป นต้นแบบของการพัฒนาเมืองในระดับโลก หากย้อนดู
                          กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ได้รับการยกย่องให้เป นเมืองที่น่าอยู่มากที่สุดติดต่อกันหลายปี



                     ในอดีตกรุงเวียนนาประสบกับปั หาการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ โดยเฉพาะเคยประสบอุทกภัย
                     น้ำท่วมที่มีมานานกว่า 20 ปี  ค.ศ. 1950-1970  จ งทำให้รัฐบาลท้องถิ่นกรุงเวียนนาได้คิดค้นระบบป องกัน

                     น้ำท่วมเมืองข ้นมา หรือที่เรียกว่า  h   i   a  a     I  a   ทำหน้าที่เป นเสมือนเกาะป องกันน้ำท่วม
                     เมือง ซ ่งต่อมารัฐบาลท้องถิ่นได้พัฒนาพื้นที่บริเวณเกาะป องกันน้ำท่วมให้กลายเป นพื้นที่สา ารณะและ
                     อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนทุกกลุ่ม
            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                          ประมาณราวปี 2001 นายกเทศมนตรีกรุงเวียนนาได้ประกาศนโยบาย S a t  it   i   ออกมา
                     อันเป นนโยบายที่มีจุดมุ่งหมายสำคั เพื่อการออกแบบและพัฒนาเมืองอย่างรอบด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

                     การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน และคมนาคม ที่ให้ทุกภาคส่วนในเมืองเข้ามามีส่วนร่วม
                     ในการกำหนดยุท ศาสตร์ วิสัยทัศน์ของเมือง ภายใต้โครงการ S a t  it   i   ที่มีเป าหมายสำคั

                     4 ด้าน คือ 1  ต้องเป นเมืองที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากที่สุด 2  เป นเมืองที่มีมาตรฐานด้านนิเวศน์มากที่สุด
                     3  เป นเมืองที่รับผิดชอบต่อสังคม และ 4  เป นเมืองที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนมากที่สุด โดย
                     องค์ประกอบสำคั ของแผนงานในครั้งนี้ คือ การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในเมือง ทุกคนสามารถเข้าร่วม

                     การประชุมหารือในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมืองใน 6 หัวข้อ ได้แก่ หัวข้อการพัฒนาประชากร
                     สิ่งแวดล้อมเมือง เศรษฐกิจชุมชน การบริหารจัดการเมือง และการคมนาคมขนส่ง จนกระทั่งเกิดโครงการ

                     ต่าง  ที่สนับสนุนการเป นเมืองอัจฉริยะเวียนนาข ้นมา เช่น เมืองอัจฉริยะด้านคมนาคมมีโครงการ  i
                      i i   และโครงการ  it  Bik  ขณะที่เมืองอัจฉริยะด้านสุขภาพและสังคมมีโครงการการส่งผ่านข้อมูล
                     ข่าวสารให้กับผู้สูงอายุผ่านแท บแลท หรือโครงการห้องเรียนสีเขียวสำหรับเด ก  เป นต้น โครงการทั้งหมด

                     อาจจะมีหน่วยงานหรือหลายภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม หากแต่ทุกโครงการและทุกภาคส่วนต่างก มีเป าหมาย
                     เดียวกันในการสนับสนุนวิสัยทัศน์ของเมืองไปสู่การสร้างเมืองอัจฉริยะเวียนนา

                          สิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่งของการสร้างเมืองอัจฉริยะเวียนนา คือ การมุ่งเน้นกระบวนการมีส่วนร่วม

                     ของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยมีรัฐบาลท้องถิ่นเป นผู้ดูแลหลักและกระจายหน้าที่ไปให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
                     ในด้านต่าง  เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองเวียนนา เช่น การให้หน่วยงานบริษัทที่ปร กษาเข้ามาเป น

                     ผู้ดำเนินการติดต่อสื่อสารและให้ข้อมูลแก่ประชาชน หน่วยงานพัฒนาเมืองของรัฐเข้ามาดำเนินการวางแผน
                     พัฒนา เป นต้น ส่งเหล่านี้ได้สะท้อนให้เห นถ งความพยายามด งทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้ามามีความรู้ส กถ ง
                     ความเป นเจ้าของเมืองร่วมกัน เพื่อผลักดันให้การพัฒนาเมืองอัจฉริยะเวียนนาประสบความสำเร จต่อไป






                     อ้างอิง    ศูนย์ ุรกิจสัมพัน ์ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ. “กรุงเวียนนา แม่แบบการพัฒนา smart
                               city ของไทย”. สืบค้นจาก http ://    thai a  .c  /a  t ia 0008/
                               สำนักงานที่ปร กษาด้านอุตสาหกรรมในต่างประเทศ ประจำกรุงเวียนนา กระทรวงอุตสาหกรรม. “Smart City VIENNA
                               แนวทางการพัฒนาเมืองของ กรุงเวียนนา”. สืบค้นจาก http :// it.  /3c4t9





                      สถาบันพระปกเก ้า
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30