Page 31 - kpiebook63021
P. 31

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถดำเนินนโยบายเมืองอัจฉริยะตามนโยบายรัฐบาลได้เลย เพราะประสบ
                     กับข้อจำกัดในหลายประการ เช่น ความไม่ชัดเจนของนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ การขาดการบูรณาการ
            รายงานสถานการณ์   ร่วมกันของหน่วยงานรัฐ ปั หางบประมาณของท้องถิ่นที่มีอย่างจำกัด ปั หาบุคลากรที่ขาดทักษะ


                     ความเชี่ยวชา  ปั หาบุคลากรท้องถิ่นขาดแคลน รวมไปถ งปั หาของตัวผู้บริหารท้องถิ่นเองที่ขาดวิสัยทัศน์
                     ในการพัฒนาเมืองและไม่ได้ให้ความสำคั กับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะเท่าที่ควร สิ่งเหล่านี้ล้วนเป นอุปสรรค

                     สำคั อย่างยิ่งในการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในประเทศไทยให้ประสบผลสำเร จ

                          ดังนั้นแล้ว ความฝันที่เราทุกคนอยากจะเห นประเทศไทยพัฒนาไปสู่การเป นเมืองอัจฉริยะอาจสะดุด
                     ลง ถ้าเราไม่ตระหนักถ งข้อจำกัด/ปั หาดังกล่าวนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ
            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                     ถือเป นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนนโยบายในระดับพื้นที่ ด้วยเหตุนี้ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในตัว
                     นโยบายยิ่งข ้น และสามารถขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะต่อไปได้ ทางสถาบันพระปกเกล้า

                     จ งเล งเห นถ งความจำเป นในการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในครั้งนี้ เพื่อเป นข้อมูลสำคั ให้กับผู้กำหนด
                     นโยบาย หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนหน่วยงานอื่น  ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้
                     ประโยชน์จากข้อมูลนี้ในการกำหนดทิศทางวางยุท ศาสตร์การพัฒนาเมืองอัจฉริยะได้อย่างเป นระบบมากข ้น


                          และสุดท้ายนี้สถาบันพระปกเกล้าก มีความเชื่อเป นอย่างยิ่งว่า การขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะ หรือที่
                     เราเรียกกันว่า S a t  it  นั้นจำเป นจะต้องอาศัยความร่วมมือจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ

                     มาเป นกำลังสำคั ในการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของประเทศไทย



                     3.  การวัดการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ:

                       กรอบความคิดและการสำรวจ


                          ทุกวันนี้หากกล่าวถ งคำว่า เมืองอัจฉริยะ หรือ S a t  it  แล้วนั้นย่อมกลายเป นคำที่ทุกท่านคุ้นหู
                     และเคยได้ยินกันมาบ้าง หากลองพิจารณาอย่างละเอียดก พอจะสังเกตได้ว่า เมืองอัจฉริยะนั้นมีความสัมพัน ์

                     กับส่วนต่าง  ของเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องหน้าที่ของเมือง หรือที่เราเรียกว่า    cti   กล่าวคือ
                     เมืองนั้น  มีหน้าที่หรือมี    cti   ของเมืองอย่างไร อาจจะเป นเมืองที่มีความโดดเด่นมากด้านการศ กษา

                     เป นเมืองที่โดดเด่นด้านเศรษฐกิจ หรือโดดเด่นมากเรื่องความปลอดภัยของประชาชนในเมือง อย่างในอดีตรัฐ
                     ก เคยกำหนดหน้าที่ของเมืองบางแห่งให้มีความโดดเด่นด้านอุตสาหกรรม อีกทั้งยังกำหนดให้เป นเมืองหลัก
                     ของภูมิภาค


                          พอย้อนกลับมาที่คำว่า เมืองอัจฉริยะ ก หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จำเป นจะต้องพิจารณาหน้าที่ของเมือง
                     ประกอบกันไปด้วย เพราะแท้จริงแล้ว การพัฒนาเมืองอัจฉริยะเป นการบริหารจัดการเมือง โดยอาศัย

                     เทคโนโลยีและเครื่องมือทางการบริหารมาประยุกต์ใช้และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แก้ปั หาเมือง รวมถ ง
                     พัฒนาต่อยอดสิ่งที่มีอยู่แล้วหรือมีความโดดเด่นในเมืองนั้น  ให้มีการพัฒนาและโดดเด่นเฉพาะด้านมากยิ่งข ้น

                     อันจะนำไปสู่เป าหมายปลายทางก เพื่อทำให้ประชาชนในเมืองนั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดีข ้น สามารถอาศัยอยู่ใน
                     เมืองได้อย่างสะดวกสบาย ปลอดภัย เป นมิตร และลดผลกระทบในด้านต่าง  ได้เป นอย่างดี







                 2    สถาบันพระปกเก ้า
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36