Page 32 - kpiebook63021
P. 32

ในส่วนต่อไปนี้ ผู้เขียนจะพาทุกท่านไปสำรวจทบทวนกรอบความคิดว่าด้วยเมืองอัจฉริยะกัน ซ ่งงาน
                        ศ กษาเรื่องเมืองอัจฉริยะในประเทศไทยเริ่มมีจำนวนเพิ่มข ้นในช่วงเวลาไม่นานมานี้ ส่วนหน ่งนั้นเป นงาน
                        ศ กษาในสาขาสถาปัตยกรรมและผังเมือง ขณะที่งานศ กษาในสาขาสังคมศาสตร์นั้นยังมีไม่มากนัก ส่วนให ่

                        มุ่งเน้นศ กษาการบริหารจัดการเมืองอัจฉริยะ ผู้เขียนจ งได้ค้นคว้าและทบทวนกรอบแนวคิดว่าด้วย         รายงานสถานการณ์
                        เมืองอัจฉริยะมาพอสังเขป ดังนี้


                                แนวคิดเม องอัจฉริยะของ
                                แนวคิดเม องอัจฉริยะของ
                                แนวคิดเม องอัจฉริยะของ


                                แนวคิดเรื่องเมืองอัจฉริยะเกิดข ้นครั้งแรกในปี พ.ศ.2553 จากการศ กษาของ IB  ซ ่งความหมาย
                        ที่แท้จริงของเมืองอัจฉริยะในช่วงนั้น มักอ้างถ งการแก้ปั หาเมืองอย่างชา ฉลาด เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต
                        ของประชาชนในเมือง โดยมุ่งเน้นประชาชนเป นศูนย์กลางของการพัฒนาเมือง อุปสรรคสำคั ของ

                        การพัฒนาเมืองอัจฉริยะในยุคนั้นเกิดจากขอบเขตงานที่เป นพื้นที่สา ารณะที่มีประเด นข้อก หมายกับ
                        ภาครัฐ อีกทั้งประเด นความไม่ชัดเจนของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะว่าจะสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้มี

                        ส่วนได้ส่วนเสียมากน้อยเพียงใด  วรศักดิ  กนกนุกุลชัย, 2563  ซ ่งการศ กษาของ IB  ยังได้วิเคราะห์อนาคต
                        ของการพัฒนาเมืองว่า เมืองอัจฉริยะจะประยุกต์และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ มาช่วยยกระดับ
                        คุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจของเมืองได้อย่างมั่นคง


                                เมืองอัจฉริยะตามคำอ ิบายของ IB  ได้มีการระบุองค์ประกอบของเมืองอัจฉริยะออกเป น 3 ส่วน
                        ดังนี้  เอกชัย สุมาลี และชัยวุฒิ ตันไชย, 2562                                                    ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


                                1 .   a  i   a    a a     t คือ การวางแผนพัฒนาและใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิท ิภาพ
                        ในด้านต่าง  ได้แก่


                                    -      ic Sa  t  ระบบเฝ าระวังความปลอดภัย ระบบแจ้งเตือนเหตุฉุกเฉินต่าง  โดย
                                      เจ้าหน้าที่ สามารถเข้าถ งข้อมูลความปลอดภัยดังกล่าว และสามารถแก้ไขได้อย่างทันที

                                    -           t a       c     i i t ati   หน่วยงานภาครัฐนำเทคโนโลยีสารสนเทศ

                                      มาใช้ในการบริหารจัดการองค์กรและการให้บริการได้อย่างมีประสิท ิภาพ

                                    -   it    a  i   a    p  ati    การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดวาง

                                      ผังเมือง วางแผนรองรับการขยายตัวของเมือง และเชื่อมโยงระบบป ิบัติการของเมือง

                                    -  B i  i    การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการอาคาร และการลดใช้พลังงาน

                                      ภายในอาคาร

                                2 . I   a t  ct    คือ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
                        การคมนาคมขนส่ง และการสื่อสาร เพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานต่าง  ให้มีประสิท ิภาพ


                                    -         การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการพลังงานในเมือง

                                    -   at   การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาบริหารจัดการน้ำในเมือง







                                                                                                 สถาบันพระปกเก ้า   2
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37