Page 36 - kpiebook63021
P. 36

ร  องม อท   ช้ นการสำร


                                 การสำรวจข้อมูลการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศในครั้งนี้
                        ได้แบ่งการดำเนินงานออกเป น 2 ขั้นตอน ได้แก่ การสำรวจข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล


                                      การสำร  ข้อมูล ได้ใช้แบบสอบถามการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ประกอบด้วยข้อคำถาม             รายงานสถานการณ์
                        จำนวน 76 ข้อ แบ่งออกเป น 3 ส่วน ดังนี้  เอกสารแบบสอบถามแสดงในภาคผนวก


                                        ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 6 ข้อ ประกอบด้วย
                                      ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ตั้ง จำนวนประชากร รายได้รวมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                                      และรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปีงบประมาณล่าสุด


                                          ส่วนที่ 2 สถานการณ์การพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน
                                      67 ข้อ ประกอบด้วยข้อคำถามการพัฒนาเมืองอัจฉริยะใน 9 มิติ ได้แก่ เมืองอัจฉริยะด้าน

                                      การศ กษา เมืองอัจฉริยะด้านสุขภาพ เมืองอัจฉริยะด้านคุณภาพชีวิตสังคมและชุมชน
                                      เมืองอัจฉริยะด้านความปลอดภัย เมืองอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการภาครัฐ เมืองอัจฉริยะ

                                      ด้านสิ่งแวดล้อม เมืองอัจฉริยะด้านเศรษฐกิจ เมืองอัจฉริยะด้านการคมนาคม และ
                                      เมืองอัจฉริยะด้านพลังงาน


                                        ส่วนที่ 3 ความสนใจและความต้องการสนับสนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการ
                                      พัฒนา เมืองอัจฉริยะ จำนวน 3 หัวข้อให ่ ประกอบด้วยความสนใจขององค์กรปกครอง           ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                                      ส่วนท้องถิ่นในการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินภารกิจ ปั หาอุปสรรคในการดำเนินงาน

                                      และความต้องการสนับสนุนจากภาครัฐในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ

                                  การสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะได้รวบรวมข้อคำถามเพื่อสำรวจความพร้อมในเชิง
                        กายภาพของเมือง   h  ica   at  i    ความพร้อมเชิงนโยบาย     ic   at  i    และความตระหนักรู้

                        เกี่ยวกับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ     c pti    at  i    ของเมืองในประเด นที่มีความสำคั ต่อ
                        การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ นอกจากนี้ยังแบ่งมิติของการวัดความพร้อมข้างต้นนี้ออกเป น 4 มิติ ประกอบด้วย

                                   1 . ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน  I   a t  ct     at  i
                                   2 . ความพร้อมด้านการจัดการข้อมูล   ata  a a     t  at  i
                                   3 . ความพร้อมด้านนโยบายและการบริหารจัดการ   a a     t  at  i

                                   4 . ความพร้อมด้านการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ  N tw  k  at  i

                                  โดยในข้อคำถามที่ใช้วัดการพัฒนาเมืองอัจฉริยะดังกล่าว จะถูกจัดเรียงตามลำดับ

                        ในอัตราส่วนที่ไม่เท่ากัน ข ้นอยู่กับบริบทสภาพจริงของอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย
                        มีกรอบการศ กษาตามแผนภาพต่อไปนี้














                                                                                                 สถาบันพระปกเก ้า   25
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41