Page 34 - kpiebook63021
P. 34

3.1  วิ ีการวัดการพัฒนาเม องอัจฉริยะ


                                การสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในครั้งนี้ ได้เริ่มต้นจากความสนใจสำรวจสถานการณ์
                        การพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบันว่ามีสถานการณ์เป นอย่างไร แล้วทุกวันนี้

                        องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีศักยภาพในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่จุดไหน ศักยภาพเป นอย่างไรบ้าง อันจะ  รายงานสถานการณ์
                        นำไปสู่การผลักดันนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของท้องถิ่นในระดับประเทศต่อไป โดยในการสำรวจนั้น

                        ได้อาศัยการเก บข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห นบุคลากรที่เป นตัวแทนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                                                                                           8
                        ทั่วประเทศ และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินผลการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในมิติต่าง
                                 กลุ่ม ร ชากร   าหมา


                                 สำหรับหน่วยในการสำรวจครั้งนี้ คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ จำนวน
                        7,850 แห่ง โดยในการตอบแบบสอบถามนั้นได้ขอความร่วมมือในการกรอกข้อมูลจากบุคลากรสังกัดองค์กร

                        ปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ โดยให้ตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งละ 1 คน ได้แก่ ปลัด
                        รองปลัด หรือผู้อำนวยการฝ าย/กอง/สำนัก ซ ่งดำรงตำแหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นมาแล้ว
                        ไม่น้อยกว่า 3 ปี เป นผู้ตอบแบบสอบถาม


                                  กรอบการ ัดมิติของการ ั นา ม องอั  ริ

                                 การสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในครั้งนี้ ได้กำหนดกรอบการวัดมิติของการพัฒนาเมือง

                        อัจฉริยะออกเป น 9 มิติ มีรายละเอียดในแต่ละมิติ ดังนี้                                            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                                     ม องอั  ริ  ด้านการ  ก า    art  ducation  เป นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ

                        มาประยุกต์ใช้ในการจัดการศ กษาและพัฒนานวัตกรรมทางการศ กษา โดยมีตัวอย่างโครงการขององค์กร
                        ปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ดำเนินการเกี่ยวข้องกับเมืองอัจฉริยะด้านการศ กษา เช่น ห้องเรียนอัจฉริยะ    a t
                        c a        การจัดทำแอพลิเคชั่นเพื่อการศ กษา การเรียนการสอนผ่านระบบอิเล กทรอนิกส์ เป นต้น


                                      ม องอั  ริ  ด้านสุข า     art   althcar   เป นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ
                        มาประยุกต์ใช้ในการส่งเสริม ป องกัน ดูแลสุขภาพประชาชนในท้องถิ่น ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีพัฒนา

                        ด้านการแพทย์และสา ารณสุข เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีข ้น โดยมีตัวอย่างโครงการขององค์กรปกครอง
                        ส่วนท้องถิ่นที่ได้ดำเนินการเกี่ยวข้องกับเมืองอัจฉริยะด้านสุขภาพ เช่น ระบบติดตามชีพจรผู้ป วย ระบบกู้ชีพ

                        ฉุกเฉินอัจฉริยะ ระบบทะเบียนผู้ป วยอิเล กทรอนิกส์ เป นต้น

                                      ม องอั  ริ  ด้าน ุณ า ช  ิต สัง มแล ชุมชน    art Li ing  เป นการนำเทคโนโลยี
                        สารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการชุมชนและสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนอย่างเป นระบบ เพื่อทำให้

                        ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีข ้น โดยมีตัวอย่างโครงการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ดำเนินการ
                        เกี่ยวข้องกับเมืองอัจฉริยะด้านคุณภาพชีวิตสังคมและชุมชน เช่น การทำฐานข้อมูลชุมชนในระบบ

                        อิเล กทรอนิกส์ การให้บริการแจ้งข้อมูลข่าวสารในชุมชนผ่านแอพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน





                               8   หากต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถศ กษาข้อมูลได้จากรายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ  ฉบับสมบูรณ์



                                                                                                 สถาบันพระปกเก ้า   2
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39